บทความมาใหม่

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 162 ตุลาคม 2535
    ข้าวแดง-สีย้อมจากธรรมชาติหน้าตาของอาหารมีส่วนสำคัญอย่างยิ่งในการเชิญชวนให้ผู้บริโภคใคร่อยากจะชิมลิ้มลอง และสิ่งที่ขาดไม่ได้ในการช่วยเสริมหน้าตาของอาหารให้ดูน่ากินมากยิ่งขึ้น ก็คือ สีสันของอาหาร นั่นเองในสมัยก่อนที่เรายังไม่มีสีสังเคราะห์ที่ใช้ผสมอาหารเพื่อให้เกิดสีสันสวยงามเหมือนสมัยนี้ ชาวบ้านในยุคนั้นจึงได้คิดดัดแปลงโดยสกัดเอาสีจากพืชซึ่งเป็นสีธรรมชาติมาใช้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 162 ตุลาคม 2535
    ฉลากนมผงดัดแปลงสำหรับทารกวันนี้ครึ้มอกครึ้มใจก็เลยชวนเพื่อนที่เป็นพยาบาลผู้ป่วยเด็กมาเดินซูเปอร์มาร์เก็ต เพื่อหาฉลากที่น่าสนใจมาเล่าให้ท่านผู้อ่านตามที่สัญญาไว้ตั้งแต่ครั้งที่แล้ว เมื่อเดินมาถึงส่วนที่จัดวางขายนมผงดัดแปลงสำหรับทารก พบว่า มีหลายยี่ห้อด้วยกัน เอ๊ะ! แล้วนั่นนมผงยี่ห้อเดียวกันทำไมสีกระป๋องนมต่างกัน คุณพยาบาลจึงอธิบายว่า ในแต่ละยี่ห้อมักจะมีนมผงออกมาเป็น2 ชนิด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 162 ตุลาคม 2535
    บริหารร่างกายชะลอความชราคำว่า “ชรา” ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน แปลว่า ความแก่ ความชำรุดทรุดโทรม ช่างเป็นคำที่แห้งแล้งหดหู่เสียนี่กระไร ร่างกายที่แข็งแรงเปรียบเสมือนเป็นเกราะป้องกันโรคภัยไข้เจ็บได้อย่างดียิ่ง และข้อสำคัญยังช่วยชะลอความชราได้อีกด้วย นอกจากนี้ส่วนสำคัญต่างๆ ของร่างกาย เช่น กระดูก กล้ามเนื้อ ระบบสูบฉีดโลหิต ถ้ายิ่งทำงานได้ดีเท่าไร ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 162 ตุลาคม 2535
    “หมูเป็นเอดส์”? ชาวบ้านผวาไม่กล้ากินประมาณกลางเดือนสิงหาคมที่ผ่านมานี้ หลายท่านคงเกิดความวิตกกังวลจากข่าวของหนังสือพิมพ์ยักษ์ใหญ่ฉบับหนึ่งของเมืองไทยที่ตีพิมพ์พาดหัวข่าวหน้าหนึ่ง ตัวโต สร้างความไม่สบายอกสบายใจให้เกิดขึ้นกับประชาชนอีกเป็นจำนวนมากที่ไม่ทราบข้อเท็จจริง กรณีของข่าวที่ปรากฏว่า “หมูเป็นเอดส์” ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 161 กันยายน 2535
    การสอบเทียบหมอชาวบ้านครั้งนี้นำเสนอบทความพิเศษเรื่องการสอบเทียบโดยตั้งชื่อบทความที่ฟังดูรุนแรงไปหน่อย เรื่องสอบเทียบนี้มีความเห็นแตกต่างกัน บางคนก็ว่าดีเพราะเป็นการเปิดโอกาสให้เด็กที่มีความสามารถและต้องการเรียนได้เร็วขึ้น แต่คนที่ไม่เห็นด้วยก็มีมาก โดยคิดว่าทำผิดวัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์เดิมนั้น เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ไม่มีโอกาสศึกษาเป็นทางการมีโอกาสมาสอบเทียบ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 161 กันยายน 2535
    สอบเทียบ โอกาสเลือกหรือลวงทางการศึกษา ?“แม่คะ...หนูอยากสอบเทียบ” คือประโยคแรกที่ลูกพูดเมื่อกลับถึงบ้านในวันแรกที่เข้าเรียนชั้นมัธยมหนึ่ง“โอ๊ย...ไม่ต้องสอบหรอกลูก เรียนตามปกติธรรมดานี่แหละ” ดิฉันห้ามลูกทันทีเพราะคิดว่าการสอบเทียบจะเพิ่มภาระทำให้ลูกต้องเรียนหนักขึ้น แถมยังต้องไปเรียนกวดวิชาเพื่อให้สอบได้อีกด้วย เวลาผ่านไปครึ่งปี ลูกบ่นว่า “เพื่อนหนูเขาสอบเทียบม.3 ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 161 กันยายน 2535
    ต่อมหมวกไตเคยบ้างไหมที่พบว่า...ในบางสถานการณ์ที่อุบัติขึ้นอย่างกะทันหันท่ามกลางความตระหนกตกใจของใครหลายๆคน รวมทั้งตัวคุณเองด้วย อย่างเช่นในกรณีที่แม่บ้านเกิดทำไฟไหม้ห้องครัว ช่วงนั้นทุกคนต่างตกอยู่ในภาวะแห่งความสับสนอลหม่าน มารู้ตัวอีกครั้งก็เมื่อพบว่าตัวคุณเองได้กลายเป็น “สาวน้อยมหัศจรรย์” หรือ “ซูเปอร์แมน” ไปเสียแล้ว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 161 กันยายน 2535
    อิมมูน – ภูมิคุ้มกันได้เขียนถึงเรื่องของ “โรคภูมิต้านตัวเอง” หรือ “ออโตอิมมูน” มา 2 ฉบับแล้ว ก็เลยขอถือโอกาสขยายความเกี่ยวกับคำว่า “อิมมูน” ต่อเลยดีไหมครับ มีอยู่บ่อยครั้งที่ผู้อ่านอาจรู้สึกงงงวยเมื่อเข้าไปในโรงพยาบาลแล้วเหลือบเห็นป้าย “แผนกอิมมูนวิทยา” หรืออ่านบทความทางการแพทย์พบกับประโยคว่า“โรคนี้สาเหตุเกิดจากอะไรไม่ทราบแน่ชัด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 161 กันยายน 2535
    เอกซเรย์คอมพิวเตอร์ในปัจจุบันนี้เทคโนโลยีได้ก้าวหน้าไปมาก เช่น ทางด้านการสื่อสาร แต่ก่อนนี้คงไม่เชื่อว่าจะสามารถมีโทรศัพท์พกติดตัวไปไหนมาไหนได้สะดวกเช่นทุกวันนี้ แม้ขณะที่ชุมนุมประท้วงอยู่กลางถนนก็ยังสามารถพูดคุยกับคนที่บ้านได้ ทางด้านการแพทย์ก็เช่นกัน ถ้าเป็นสมัยก่อนมีใครมาบอกว่า แพทย์สามารถจะมองเห็นหรือส่งคลื่นเข้าไปตรวจอวัยวะภายในร่างกายได้ คนคงหัวเราะกันท้องคัดท้องแข็ง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 161 กันยายน 2535
    ถุงลมปอดโป่งพองข้อน่ารู้1. ถุงลมปอด (alveoli) เป็นเนื้อเยื่อที่อยู่ส่วนปลายสุดของปอด มีลักษณะเป็นถุงอากาศเล็กๆ อยู่ต่อกับหลอดลมฝอยแขนงต่างๆ นับจำนวนเป็นล้านๆ ถุง (เปรียบเหมือนใบไม้ที่เกาะติดอยู่กับปลายของกิ่งไม้กิ่งต่างๆ) และโดยรอบของถุงลมจะมีหลอดเลือดฝอยห่อหุ้มถุงลมปอดจึงเป็นที่ที่มีการแลกเปลี่ยนอากาศ กล่าวคือ ก๊าซออกซิเจน (อากาศดี) ที่มากับลมหายใจเข้าเมื่อเข้ามาอยู่ในถุงลม ...