บทความมาใหม่

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 158 มิถุนายน 2535
    น้ำยาล้างจานการบริโภคนั้นเป็นกิจกรรมหลักของมนุษย์เรา ไม่ว่าชาติใดภาษาใดก็ตาม และสิ่งหนึ่งที่สร้างภาระตามมาหลังการบริโภคก็คือ การทำความสะอาดภาชนะใส่อาหารซึ่งหลายๆคนอยากจะหลีกเลี่ยง เพราะรู้สึกเบื่อคราบไขมันที่ติดภาชนะล้างออกยาก บางครอบครัวจึงตัดปัญหานี้โดยออกไปกินอาหารนอกบ้านก็มีถ้าเรามองย้อนกลับไปยุคโบร่ำโบราณสมัยคุณปู่คุณทวดแล้ว การล้างจานไม่ได้เป็นปัญหาแต่อย่างใด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 158 มิถุนายน 2535
    เมื่อฟันอักเสบหากท่านไปพบทันตแพทย์ด้วยอาการปวดฟันสุดแสนทรมาน แล้วทันตแพทย์แนะนำให้ท่านถอนฟัน ท่านจะรู้สึกทรมานใจมากเสียกว่าความปวดทรมานจากโรคฟันหรือไม่ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 158 มิถุนายน 2535
    การตรวจรักษาอาการ “หลับไม่ปกติ” (ตอนที่ 11)ความฝันเป็นอาการอย่างหนึ่งที่เกิดขึ้นในขณะหลับ มีผู้สนใจพยายามศึกษามากมายว่าทำไมคนจึงฝัน มีสาเหตุที่เกี่ยวกับร่างกายหรือจิตใจหรือไม่ ทำไมบางคนถึงจำความฝันได้มาก บางคนจำความฝันได้น้อย แต่ก่อนอื่นมาทำความรู้จักกับความฝันก่อนดีกว่า4. การฝัน (dreaming) คือ การนึกเห็นเป็นเรื่องราวในขณะหลับ บางคนถือว่าการฝันเป็นอาการหลอนอย่างหนึ่ง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 158 มิถุนายน 2535
    โรคบิดชิเกลล่าข้อน่ารู้1. โรคบิดในที่นี้ หมายถึง อาการถ่ายเป็นมูกหรือมูกปนเลือดกะปริดกะปรอยบ่อยครั้ง สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียชนิดหนึ่งที่เรียกว่า ชิเกลล่า (shigella) ซึ่งติดต่อโดยทางอาหารการกิน เราเรียกโรคบิดชนิดนี้ว่า “โรคบิดชิเกลล่า”2. โรคนี้พบในคนทุกเพศทุกวัย สามารถป้องกันได้ด้วยการกินอาหารสุก ไม่มีแมลงวันตอม และดื่มน้ำสะอาด3. อันตรายของโรคนี้ คือ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 158 มิถุนายน 2535
    กระท้อนลอยแก้วในช่วงเดือนเมษายน พฤษภาคม และมิถุนายน อาจถือได้ว่าเป็นช่วงที่ร้อนที่สุดก็ว่าได้ ถ้าเป็นอุณหภูมิความร้อนของบรรยากาศทางการเมืองที่กำลังคุกรุ่นอยู่ขณะนี้ เราท่านในฐานะพลเมืองตัวเล็กๆก็ได้ทำหน้าที่กันอย่างดีที่สุดแล้วในช่วงที่ผ่านมา ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 158 มิถุนายน 2535
    อันตรายจากภาชนะใส่อาหารในสมัยก่อนภาชนะที่เราใช้บรรจุอาหารส่วนมากมักจะใช้วัสดุที่ผลิตขึ้นจากธรรมชาติ เช่น ใบตอง กะลามะพร้าว เครื่องปั้นดินเผา (ไม่มีลวดลาย ไม่เคลือบ) แต่มาถึงยุคปัจจุบัน วัสดุจากธรรมชาติเหล่านี้ดูเหมือนว่าจะค่อยๆถูกกลืนหายไปกับเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่คืบคลานเข้ามาครอบงำวิถีชีวิตคนเราเสียจนหมดสิ้นถึงเดี๋ยวนี้ไม่ว่าจะมองไปทางไหนก็จะเห็นแต่จานกระเบื้องเคลือบสีลายสวย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 158 มิถุนายน 2535
    ตื่น-นอน วงจรชีวิตที่สมดุลสิ่งมีชีวิตทุกชนิดไม่ว่าจะเป็นสัตว์น้ำ สัตว์บก สัตว์ปีก ล้วนมีช่วงเวลาของแต่ละวันที่อยู่ในภาวะตื่น และบางช่วงเวลาอยู่ในภาวะนอน ทั้งนี้สัตว์แต่ละชนิดย่อมแตกต่างกันทั้งเวลาตื่นและนอน สัตว์ส่วนใหญ่จะออกหากินในเวลากลางวัน รวมทั้งนกและมนุษย์ แต่สัตว์บกบางชนิดโดยเฉพาะสัตว์ป่าจำพวกเสือ สิงโต รวมทั้งแมว หนู มักจะออกหากินในเวลากลางคืน สัตว์เหล่านี้จึงมักนอนในเวลากลางวัน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 157 พฤษภาคม 2535
    การพัฒนาแบบสมดุลขณะที่เขียนคุยกับผู้อ่านนี้เป็นกลางเดือนเมษายนพอดี อากาศกำลังร้อนจัด ความแห้งแล้งแผ่ซ่านไปทั่ว ผู้คน พืช สัตว์ แผ่นดิน ถูกเผาเกรียมทั้งกายและใจ และอาจถึงล้มตายคำถามก็คือ อากาศร้อนจัดขึ้นเรื่อยๆ ความแห้งแล้งเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆจริงหรือไม่ ถ้าจริงก็เป็นสัญญาณอันตราย ถ้าร้อนกว่านี้และแล้งกว่านี้เราจะอยู่กันได้อย่างไรป่าไม้ของเราถูกทำลายไปมาก ความเป็นทะเลทรายกำลังคืบคลานเข้ามา ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 157 พฤษภาคม 2535
    ลำไส้ไม่ว่าหน้าตาและรสชาติของอาหารคุณจะมาจากครัวระดับใด จากโรงแรมชั้นหนึ่งหรือจากร้านข้างถนน แต่สุดท้ายอาหารทุกจานที่ถูกจัดแต่งไว้อย่างดีเลิศ เช่น อาหารฮ่องเต้ หรือที่ดูไม่ค่อยน่ากินอย่างต้มจับฉ่าย ก็จะถูกย่อยลงไปรวมกันที่ลำไส้ในท้องคุณทั้งหมดลำไส้เปรียบได้กับโรงงานที่ทำหน้าที่เปลี่ยนรูปอาหารให้เป็นส่วนที่เล็กลงจนร่างกายสามารถดูดซึมไปใช้ได้ เช่น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 157 พฤษภาคม 2535
    เอสแอลอี- โรคภูมิแพ้ต่อตัวเองข้อน่ารู้1. เอสแอลอี ชื่อโรคประหลาดนี้เรียกทับศัพท์ภาษาอังกฤษจากคำว่า SLE ซึ่งย่อมาจาก “Systemic lupuserythematosus” (ซิสเตมิก-ลูปัส-อีริทีมาโตซัส) เนื่องจากชื่อเต็มนี้ยาวและเรียกยาก ฝรั่งจึงนิยมเรียกว่า SLE แทน ไทยเรายังหาคำที่เหมาะๆไม่ได้ จึงเรียกทับศัพท์ว่า เอสแอลอี ...