บทความมาใหม่

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 157 พฤษภาคม 2535
    การตรวจรักษาอาการ “หลับไม่ปกติ” (ตอนที่ 10)ในครั้งก่อนๆ ได้กล่าวถึงอาการนอนไม่หลับ หลับมาก หรือง่วงเหงาหาวนอนมาก และวิธีการตรวจรักษาไว้แล้ว ในครั้งนี้และฉบับต่อๆไปจะกล่าวถึงอาการที่เกิดร่วมกับการหลับอาการที่เกิดร่วมกับการหลับ (parasomnias) คือ พฤติกรรมที่เกิดขึ้นในขณะหลับ อาจจะปกติหรือผิดปกติก็ได้ ถ้าผิดปกติอาจเรียกว่าอาการผิดปกติขณะหลับ (dyssomnias) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 157 พฤษภาคม 2535
    กว่าจะเป็นนางงามเมื่อวันที่ 28 มีนาคมที่ผ่านมา ท่านผู้อ่านหลายท่านคงยังจำบรรยากาศอันน่าชื่นตาชื่นใจได้เหมือนผมที่ได้เห็นกลุ่มสาวงามที่งามที่สุดจำนวนหนึ่งของประเทศไทย มาปรากฏโฉมให้พวกเราได้ชมทางจอโทรทัศน์ แต่ละคนล้วนสวยงาม โดยเฉพาะใบหน้าและรอยยิ้มที่ประทับใจผู้ชม ทุกคนล้วนยิ้มกันได้อย่างกว้างขวาง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 157 พฤษภาคม 2535
    25 จุด หยุดความเครียดผมพบกับผู้ที่มีปัญหาปวดเมื่อยร่างกายโดยเฉพาะส่วนคอ บ่า และสะบักอยู่เป็นประจำ คนทำงานสำนักงาน นักบริหาร นักวิชาการ เป็นกลุ่มที่มีอาการดังกล่าวอยู่มาก ส่วนใหญ่เกิดจากความเครียดในชีวิตประจำวัน การผ่อนคลายความเครียดด้วยการพักผ่อน ทำใจให้สงบ การออกกำลังกาย หางานอดิเรกทำ จะช่วยให้อาการปวดเหล่านี้ทุเลาลงไปได้มาก แต่บางรายก็เป็นเรื้อรัง จนเส้นบริเวณคอ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 157 พฤษภาคม 2535
    ปลาเค็มเป็นที่ทราบกันดีว่าปลาเป็นอาหารที่สำคัญอย่างหนึ่งของคนไทยเรา จนมีสำนวนที่เราคุ้นเคยและพูดกันจนติดปากว่า “กินข้าวกินปลา” หรือกล่าวถึงความอุดมสมบูรณ์ในด้านอาหารของไทยเราว่า “ในน้ำมีปลา ในนามีข้าว” นั่นย่อมแสดงให้เห็นอย่างเด่นชัดแล้วว่า ปลาเป็นอาหารสำคัญยิ่งของไทยเรามาตั้งแต่โบราณกาลแล้ว แต่เมื่อสภาพของบ้านเมืองเปลี่ยนแปลงไป ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 157 พฤษภาคม 2535
    สะเดา ความขมที่เป็นยา“หวานเป็นลม ขมเป็นยา” คำพังเพยเก่าแก่ของชาวไทยประโยคนี้ แสดงถึงความเชื่อเกี่ยวกับคุณสมบัติด้านยารักษาโรคของสิ่งที่มีรสขมเช่นสมุนไพรต่างๆ คำพังเพยประโยคนี้เปรียบเทียบคำพูดหรือคนที่พูดไพเราะอ่อนหวานว่า อาจจะเป็นพิษภัยเหมือนกับลม ซึ่งเชื่อว่าเป็นสาเหตุของโรคต่างๆ ในขณะที่คำพูดหรือคนที่พูดไม่ไพเราะนั้น มักจะมีประโยชน์เหมือนกับยา ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 157 พฤษภาคม 2535
    สุขสดชื่นเมื่อดื่มน้ำน้ำและเครื่องดื่มต่างๆเป็นสิ่งจำเป็นต่อชีวิตมาก ในทุกๆวันตั้งแต่ตื่นเช้าจนถึงก่อนนอน ตั้งแต่ตอนเป็นเด็กทารกจนถึงผู้สูงอายุ ล้วนต้องดื่มน้ำหรือเครื่องดื่มเป็นประจำเกือบทุกๆ 2-3 ชั่วโมง เราทราบดีว่าร่างกายประกอบด้วยน้ำมากถึงร้อยละ 50-60 ในผู้ใหญ่ และประมาณร้อยละ 75 ในทารก แต่ทำไมเราไม่เก็บปริมาณของน้ำนี้ไว้ตลอดเวลา หรือสะสมน้ำไว้ในร่างกายให้มากโดยไม่ต้องดื่มน้ำเป็นวันๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 122 มิถุนายน 2533
    แพ้ยากินยาแก้แพ้และยาซัลฟา พอกินยาได้สักครึ่งชั่วโมงเกิดอาการแสบร้อน ดิฉันคิดว่าแพ้ยา ถ้าดิฉันเป็นโรคที่ต้องใช้ยานี้อีกควรทำอย่างไรผู้ถาม วิมลพรรณ/กรุงเทพฯผู้ตอบ พญ.ฉวีวรรณ บุนนาคดิฉันอายุ 29 ปี แต่งงานแล้ว มีบุตร 2 คน อาชีพรับราชการ มีข้อสงสัยเกี่ยวกับการแพ้ยาตามข้อมูลที่พอจะจำได้ดังนี้ค่ะปี 2528 หลังคลอดบุตร กินยาแอมพิซิลลิน แพ้เป็นลมพิษ กลางปี 2531 ถูกตัวเห็บกัดศรีษะ ทายา Lidex NGN® ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 132 เมษายน 2533
    พุทธศาสนากับวิกฤติการณ์สิ่งแวดล้อมขณะนี้ผู้คนในประเทศต่างๆ เกิดตระหนักรู้ถึงวิกฤติการณ์สิ่งแวดล้อมซึ่งสำแดงอาการด้วยประการต่างๆ เช่น ป่าไม้ถูกทำลายไปอย่างรวดเร็ว อันเป็นการทำลายพันธุ์พืชและสัตว์นานาชนิด ทำให้ธรรมชาติขาดความอุดมและเสียสมดุล ทำให้เกิดความแห้งแล้ง ภัยพิบัติทางธรรมชาติ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เพิ่มขึ้นในชั้นบรรยากาศ การปล่อยแก๊สพิษ และวัตถุมีพิษต่างๆ ออกสู่อากาศ น้ำ ดิน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 132 เมษายน 2533
    เอดส์กับการบริจาคเลือดเมื่อเร็วๆนี้ ผู้เขียนแวะไปบริจาคเลือดที่แผนกคลังเลือดของโรงพยาบาลใหญ่แห่งหนึ่ง ก็ได้ถือโอกาสพูดคุยกับเจ้าหน้าที่ที่รับบริจาคเลือด“6 เดือนหลังนี้ พบคนที่บริจาคเลือดมีเอชไอวีโพสิทีฟมากขึ้นกว่าระยะก่อนมาก” เจ้าหน้าที่ที่นั่นเล่าให้ฟังเลือดทุกขวดที่รับบริจาคจะตรวจหาเชื้อเอดส์ ซึ่งภาษาอังกฤษเรียกว่า “เอชไอวี” (HIV ย่อมาจาก human immunodeficiency ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 132 เมษายน 2533
    มหันตภัยแห่งยุคทุกชีวิตเต็มไปด้วยความหวังที่จะก้าวไปข้างหน้าอย่างมุ่งมั่น แต่ละชีวิตต้องการได้รับแต่สิ่งที่ดี ทว่าปัจจุบันนี้ความหวังของมวลมนุษย์ดูจะเลือนรางเต็มที สาเหตุเนื่องมาจากในปัจจุบันโลกมนุษย์กำลังได้รับภัยคุกคามจากโรคชนิดหนึ่ง โรคที่ผู้คนหวาดกลัว โรคที่เป็นต้นเหตุให้ชีวิตหลายชีวิตต้องพบกับจุดจบในเวลาอันไม่สมควร โรคที่ไม่มีหนทางจะรักษาให้หายได้ ...