บทความมาใหม่

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 209 กันยายน 2539
    ทำอย่างไรจึงจะอ้วนผมอายุ ๒๔ ปี ส่วนสูง ๑๗๕ เซนติเมตร น้ำหนัก ๕๒ กิโลกรัม กินจุมาก และหิวบ่อย แต่ก็ไม่อ้วน เคยไปตรวจหาพยาธิ ๒ ครั้ง ไม่พบทั้ง ๒ ครั้งการออกกำลังกายผมกล่าวได้ว่าไม่ได้ปฏิบัติเลยผมขอถามปัญหาดังนี้1.คุณหมอคิดว่าผมผอมไหม อายุและความสูงขนาดนี้ควรมีน้ำหนักเท่าไร2.ทำอย่างไรถึงจะมีน้ำหนักเพิ่มขึ้นได้ กรุณาแนะนำด้วย3.การตรวจอุจจาระหาพยาธิต้องตรวจถึง ๓ ครั้ง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 209 กันยายน 2539
    หนองในเทียมผมได้ไปเที่ยว กลับมาแล้วมีน้ำใส แล้วค่อยข้นขึ้น ไปหาหมอที่ศูนย์กามโรค หมอบอกเป็นหนองในแท้รักษาอยู่ ๓ สัปดาห์ หมอบอกว่าหายแล้ว ต่อมาได้ไปตรวจที่โรงพยาบาลศูนย์ของภาคใต้ เพราะยังมีน้ำใสๆ ไหลออกมาตอนเช้ามาก กลางวันแค่ชื้นเปียกๆเท่านั้น รักษาอยู่ที่นั่น ๖ เดือนกว่า ทำการเพาะเชื้อดู พบเชื้อหลายตัว กินยาที่โรงพยาบาลนี้เกือบ ๘ ชนิด อาการคือมีน้ำใสๆออกมาตอนเช้า เยอะบ้าง น้อยบ้าง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 209 กันยายน 2539
    วิธีการวินิจฉัยทารกก่อนคลอดการวินิจฉัยทารกในครรภ์เพื่อตรวจหาความผิดปกตินั้นมีอยู่หลายวิธี ซึ่งแต่ละวิธีมีความจำเป็นในการตรวจและมีความปลอดภัยแตกต่างกัน จึงขอแนะนำให้คุณพ่อคุณแม่รู้จักการตรวจวินิจฉัยทารกก่อนคลอดวิธีต่างๆ เพื่อให้รู้และเข้าใจ หากจำเป็นต้องตรวจทารกก่อนคลอดการตรวจอัลตราซาวนด์การตรวจอัลตราซาวนด์หรือการตรวจด้วยคลื่นเสียงเป็นวิทยาการก้าวหน้าทางสูติศาสตร์ปัจจุบัน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 209 กันยายน 2539
    ฟักทอง : สุดยอดผักผลโตแต่โบราณ…คนชั้นต่ำอึดอยู่อึดกิน บนดินแดนอีสานอดอยากเก็บหมากไม้ หมากอึ หมากแตง เอามาแกงกินแลงต่างข้าว… บทเพลงที่ยกมาข้างบนนี้ เป็นเนื้อร้องท่อนหนึ่งของเพลงชื่อ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 204 กันยายน 2539
    ปวดท้อง (ตอนที่ 1)อาการปวดท้องอาจเป็นอาการปวด เจ็บ แสบ เสียด จุก แน่น หรือไม่สบายในท้องและท้องน้อย ถ้าเป็นมากอาจเสียวร้าวขึ้นมาที่ไหล่ไปด้านหลัง หรือลงไปบริเวณก้นได้คงไม่มีใครที่ไม่เคยปวดท้อง เพราะอาการปวดท้องเป็นอาการที่พบมากที่สุดอาการหนึ่ง แม้แต่หัวเราะมาก ๆ ก็ปวดท้องได้ ที่เรียกว่า “หัวเราะจนท้องคัดท้องแข็ง” ไอมาก ๆ ก็ปวดท้อง ออกกำลังก็ปวดท้องได้ เป็นต้นคนไข้รายที่ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 209 กันยายน 2539
    ทำไมเราต้องหายใจเราหายใจเอาอากาศเข้าไปในปอด หรือถ้าจะพูดให้แคบเข้าก็คือ เอาออกซิเจนเข้าไปเลี้ยงร่างกายนั่นเอง อวัยวะทุกส่วนของร่างกายต้องการออกซิเจนเพื่อเป็นพลังงานและต้องการติดต่อกันตลอดเวลาถ้าร่างกายขาดออกซิเจน แม้ช่วงระยะเวลาไม่นานนักก็จะมีชีวิตอยู่ไม่ได้ ออกซิเจนจะถูกนำไปสู่เซลล์ของร่างกายโดยเลือด เซลล์จะใช้ออกซิเจนเพื่อการดำรงชีวิตการเผาไหม้ภายในเซลล์จะเกิดในอุณหภูมิปกติ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 209 กันยายน 2539
    หอบเหนื่อย (ตอนจบอาการหอบเหนื่อยที่ไม่ฉุกเฉินสำหรับคนไข้ที่หอบเหนื่อยแต่ไม่ฉุกเฉิน เพราะไม่มีอาการต่างๆดังที่กล่าวไว้ในฉบับที่แล้วก็ควรให้การดูแลรักษาขั้นแรกดังนี้1.ให้อยู่ในท่าที่คนไข้สบายที่สุด อาจเป็นท่านั่งพิง ท่านั่งก้มไปข้างหน้า (ฟุบกับโต๊ะ) หรืออื่นๆ2.ใช้พัด หรือพัดลมโบกเป่าให้คนไข้ 3.พูดให้กำลังใจ ให้คลายความกลัวและความเครียดความกังวลลง4.กำจัด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 209 กันยายน 2539
    ดัดตนแก้สลักไหล่ข้อไหล่ติดมีอาการที่สร้างความลำบากให้กับตัวเองมาก จะถอดเสื้อหรือใส่เสื้อไม่ค่อยจะได้เพราะยกแขนไม่ขึ้น บางครั้งอยู่เฉยๆก็ปวด จะนั่งหรือนอนก็ไม่สะดวก บางคนเป็นมานานแล้วแต่ไม่รู้ตัว พอจะเอื้อมไปหยิบของหรือปิดเปิดประตูหรือประตูรถถึงจะรู้สึกปวดแปลบไปที่ไหล่ ก็ยังไม่รู้ว่าข้อไหล่ติดนึกว่ามีอาการปวดไหล่ธรรมดา ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 209 กันยายน 2539
    ดัดตนแก้สลักไหล่ข้อไหล่ติดมีอาการที่สร้างความลำบากให้กับตัวเองมาก จะถอดเสื้อหรือใส่เสื้อไม่ค่อยจะได้เพราะยกแขนไม่ขึ้น บางครั้งอยู่เฉยๆก็ปวด จะนั่งหรือนอนก็ไม่สะดวก บางคนเป็นมานานแล้วแต่ไม่รู้ตัว พอจะเอื้อมไปหยิบของหรือปิดเปิดประตูหรือประตูรถถึงจะรู้สึกปวดแปลบไปที่ไหล่ ก็ยังไม่รู้ว่าข้อไหล่ติดนึกว่ามีอาการปวดไหล่ธรรมดา ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 208 สิงหาคม 2539
    การแพทย์ฉุกเฉินแม้จะมีโรคในชื่อเป็นพันๆชื่อ แต่ปัญหาทางการแพทย์แบ่งได้เป็น ๒ ประเภทใหญ่ๆ คือ๑.ปัญหาฉุกเฉิน ๒.ปัญหาไม่ฉุกเฉินปัญหาทั้ง ๒ ประเภท มีหลักการดูแลที่แตกต่างกันโดยสิ้นเชิง สำหรับปัญหาไม่ฉุกเฉินนั้น มีทางเลือกหลายทาง เช่น ปล่อยไว้ให้หายเอง ลองรักษาดูตามการวินิจฉัยขั้นต้น หรือวิเคราะห์ให้ละเอียดว่าเป็นอะไรแน่ส่วนปัญหาฉุกเฉินนั้นเป็นความเป็นความตายเฉพาะหน้า ...