โรคเรื้อรัง

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 181 พฤษภาคม 2537
    การลดไขมันหญิงสาวหน้าตาสวย รูปร่างอ้วน อายุประมาณ ๓๐ เศษ ก้าวเดินฉับๆเข้าไปในร้านหมอหญิง : “ดิฉันต้องการมาลดไขมันค่ะ”หมอ : “ไขมันที่ไหนครับ”หญิง : “อ้าว...หมอไม่รู้เหรอว่าเขาลดไขมันที่ไหน ก็ลดไขมันที่ท้อง สะโพก ต้นขา นี่แหละค่ะ สำคัญกว่าที่อื่น”หมอ : “ครับ ถ้าคุณจะลดไขมันที่ท้อง สะโพก และต้นขา คุณไม่ต้องหาหมอก็ได้ครับ เพราะการลดไขมันที่ท้อง สะโพก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 176 ธันวาคม 2536
    การปรับร่างกายรับฤดูกาลที่มาเยือนการเปลี่ยนแปลงฤดูในปลายปีนี้ อาการเริ่มเปลี่ยนจากความอบอ้าวและเปียกชื้นในหน้าฝน มาเป็นอากาศที่แห้งแล้งและเย็นเยือกของหน้าหนาว เมื่อเด็กเล็ก ผู้สูงอายุ หรือผู้ที่มีร่างกายไม่แข็งแรงเกิดอาการไม่สบายและไปหาแพทย์ มักจะได้คำวินิจฉัยที่คล้ายคลึงกัน คือ เป็นหวัดหรือเป็นไข้หวัด ทั้งนี้ตั้งอยู่บนรากฐานทางระบาดวิทยาที่ว่า ช่วงการเปลี่ยนแปลงของฤดู โรคภัยไข้เจ็บที่พบบ่อย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 175 พฤศจิกายน 2536
    ส่าไข้ข้อน่ารู้1. ส่าไข้ เป็นไข้ออกผื่นชนิดหนึ่งที่พบในทารกวัย 6 เดือนถึง3 ขวบ ไม่พบในเด็กโตหรือผู้ใหญ่ เกิดจากการติดเชื้อไวรัสชนิดหนึ่ง ติดต่อโดยการไอ จาม หรือหายใจรดกัน ระยะฟักตัวของโรคประมาณ7-17 วัน เมื่อเป็นแล้ว มักจะไม่เป็นซ้ำอีก โรคนี้ฝรั่งเรียกว่า “reseolar infantum” แปลว่า “ไข้ผื่นกุหลาบในทารก” คนไทยเรียกว่า “ล่าไข้” บางครั้งก็เรียกว่า ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 175 พฤศจิกายน 2536
    ไม่ยอมจน จนตาย‘วันนี้บรรยากาศในห้องตรวจดูแปลกๆ’ ป้าหมอคิด ท่าทางที่คุณชลสบตาป้าหมอดูมีพิรุธเหมือนพยายามกลบเกลื่อนอะไรบางอย่าง ทั้งที่ปากก็บอกว่าทุกอย่างขณะนี้ดูลงตัวไปหมด คุณพ่อสุขภาพดีขึ้นทุกวัน ไม่รบกวนเธอเลย ป้าหมอเขียนใบสั่งยาให้ 2 เดือน เท่าที่คุณชลแจ้งไว้ตั้งแต่ตอนตั้งคราวนี้พอคุณชลเงยหน้าขึ้น ป้าหมอเห็นอาการผิดสังเกตได้อย่างชัดเจน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 174 ตุลาคม 2536
    ‘โรคไต’ หาใช่ ‘โรคตาย’โรคภัยไข้เจ็บเป็นโรคที่คนทั่วไปสนใจอยากรู้ เพราะเป็นเรื่องใกล้ตัว โรคไตก็เช่นเกียวกัน มีผู้ให้ความสนใจพูดโรคไตกันต่างๆ บางครั้งทำให้เกิดภาพที่น่าสะพรึงกลัวจนบางคนได้ยินว่าโรคไตก็คิดว่าเป็น “โรคตาย” เลยทีเดียว โรคไตน่ากลัวจริงๆ อย่างนั้นเชียวหรือ ลองมาทำความรู้จักโรคไตกันดีไหมชนิดของโรคไตโรคไตมีมากมายหลายชนิด บางชนิดไม่มีอาการ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 173 กันยายน 2536
    จิตกับหัวใจ‘จิต’ กับ ‘หัวใจ’ สองคำนี้ ฟังแล้วคล้ายจะเป็นคำเดียวกัน แต่แท้ที่จริงเป็นคนละคำ จิตนั้นเราไม่สามารถมองเห็นได้ เป็นส่วนที่รับรู้ถึงอารมณ์และความรู้สึกต่างๆ ซึ่งก็คือ การทำงานของสมองนั้นเอง ส่วนหัวใจ คือ อวัยวะที่เต้นตุ๊บๆ อยู่ในช่องอก สัมผัสได้โดยการแนบฝ่ามือลงบนหน้าอกด้านซ้าย จะรู้สึกถึงการเต้นของมันได้เป็นอย่างดี ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 172 สิงหาคม 2536
    กรวยไตอักเสบชนิดเฉียบพลันข้อน่ารู้1. ไต เป็นอวัยวะที่ทำหน้าที่ขับปัสสาวะและของเสียออกจากร่างกายและรักษาดุลของร่างกายให้ดำรงอยู่อย่างปกติสุข ถ้าไตสูญเสียหน้าที่ดังกล่าวไป ก็เรียกว่า ไตวาย หรือไตพิการ ทำให้ร่างกายดำรงอยู่ได้หากแก้ไขไม่ได้ก็จะก็จะถึงแก่ชีวิตได้ โรคไตหรือความผิดปกติเกี่ยวกับไต มีได้หลายชนิด เช่น ไตอักเสบ ไตเป็นก้อนนิ่ว ไตเป็นก้อนเนื้องอกหรือมะเร็ง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 172 สิงหาคม 2536
    นอนไม่หลับผู้ใดที่เคยนอนไม่หลับในเวลากลางคืนจะรู้ซึ้งดีถึงความทุกข์ทรมานทั้งทางร่างกายและจิตใจ จะรู้สึกครั่นเนื้อครั่งตัว นอนท่าไหนก็ไม่สบายทั้งๆ ที่ไม่มีไข้ ความรู้สึกนอนไม่หลับช่างก่อความรำคาญทำให้จิตใจหงุดหงิดได้ไม่น้อย ในกรณีที่มีเรื่องทุกข์ร้อนอยู่มักจะนำมาคิดให้เกิดความวิตกกังวล จนบางครั้งคิดว่าประสาทหลอนเนื่องจากได้ยินเสียง แปลกประหลาด หรือเสียงนินทาดังแว่วอยู่ในหู ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 170 มิถุนายน 2536
    อาการหวัดอาการหวัดเป็นได้กับทุกเพศ ทุกวัย และตลอดปี ทั้งฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนาว อาการที่พบบ่อย คือ จาม คัดจมูก น้ำมูกไหล ครั่นเนื้อครั่นตัว ปวดเมื่อยตามกล้ามเนื้อ อาจจะมีไข้ต่ำๆ และมักหายไปภายในเวลา2-3 วัน เมื่อได้นอนพักผ่อนอย่างเพียงพอ อาการหวัดไม่ใช่ไข้หวัดใหญ่ซึ่งมีไข้สูง และรุนแรงจนล้มหมอนนอนเสื่อ ลุกไม่ขึ้น และอาจมีโรคแทรกซ้อนอื่นๆต้นเหตุของอาการหวัดยังไม่ทราบกันดี ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 168 เมษายน 2536
    นอนไม่พอ...ระวังเป็นอัมพาตการนอนไม่เพียงพอสามารถบั่นทอนสุขภาพนั้นเป็นที่กล่าวขวัญกันมาตั้งแต่โบราณกาลจนมีคำพังเพยของชาวจีนแต้จิ๋วว่า การบั่นทอนสุขภาพ อันดับแรก คือ การมีกามกิจมากเกินควร อันดับสอง คือ การเล่นพนันตลอดคืน อันดับสาม คือ การเฝ้าดูงิ้วข้ามคืนจะเห็นได้ว่าทั้ง 3 อันดับ ล้วนเกี่ยวข้องกับการนอนไม่เพียงพอในเวลากลางคืน ขณะที่กลางวันคาดว่าคงไม่ได้พักผ่อนเช่นเดียวกัน ...