อาหาร

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 217 พฤษภาคม 2540
    อาหารมื้อเช้า ลดความเครียดชีวิตคนในเมืองมักจะไม่ได้กินอาหารเช้า เพราะความเร่งรีบ คุณเคยสังเกตตัวเองไหมว่า การไม่ได้กินอาหารเช้า ในวันนั้นคุณรู้สึกว่าตัวเองจะหงุดหงิดเป็นพิเศษและอารมณ์จะอ่อนไหวง่ายนักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมัน พบว่า คนที่กินอาหารเช้าน้อยเท่าไรยิ่งเกิดความเครียดได้มากเท่านั้น และอารมณ์จะอ่อนไหวง่าย หงุดหงิดง่าย ในทำนองเดียวกันหากคุณกินอาหารมื้อกลางวันที่ให้พลังงานน้อย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 217 พฤษภาคม 2540
    เจาะลึกแพทย์แผนไทยกับพุทธศาสนา“ก่อนอื่นผู้เขียนต้องขอเรียนท่านผู้อ่านให้ทราบว่า การแพทย์แผนไทยมีส่วนเกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนาอย่างแยกไม่ออก หรืออาจกล่าวได้ว่า เป็นส่วนหนึ่งของพุทธศาสนาก็ว่าได้ ผู้เขียนจึงจำเป็นต้องนำเสนอระบบการแพทย์แผนไทยตามนัยแห่งพระพุทธศาสนา ซึ่งรูปแบบอาจยากสักหน่อยสำหรับคนรุ่นใหม่ แต่ไม่ยากสำหรับความเข้าใจ”มูลเดิมปฐมกาลของโลกมาจาก “ธารณธาตุ” คือ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 217 พฤษภาคม 2540
    ปูเค็มหลนอาหารประเภทหลน เป็นอาหารที่ต้องเคี่ยวส่วนประกอบบางอย่าง เช่น ปลาร้า ปลาเจ่า ให้ละลายและงวดหลน กะปิคั่ว แหนมหลน ปูเค็มหลน ฯลฯ อาหารประเภทหลนจะต้องมีผักสดแกล้มเพราะรสชาติจะเข้มข้น มีรสเปรี้ยวจัด เค็มจัด บางชนิดมีรสหวานด้วย เช่น เต้าเจี้ยวหลน กะปิคั่ว อาหารหลนมักไม่นิยมออกรสเผ็ด ถ้าใครชอบกินเผ็ดก็ต้องเคี้ยวพริกขี้หนูสดตามไปด้วย จะได้รสชาติเผ็ดอีกแบบหนึ่ง ที่สะใจจริงๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 217 พฤษภาคม 2540
    แมงลัก : ผักพื้นบ้านน่ารักที่ไม่ใช่ตัวแมง“แมงอะไรเอ่ย ที่น่ารัก” คำทายข้างบนนี้ยังไม่เคยมีใครนำมาใช้ทายกันมาก่อน เนื่องจากเป็นคำทายที่ผู้เขียนเพิ่งคิดขึ้นก่อนเขียนบทความตอนนี้ไม่ถึงชั่วโมงและขอเฉลยตรงนี้เลยว่าคือ “แมงลัก”หัวใจของคำทายนี้อยู่ที่คำว่า “แมง” ซึ่งคนไทยสมัยก่อนทราบความหมายเป็นอย่างดี แต่คนสมัยนี้เริ่มเข้าใจน้อยลง ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 216 พฤษภาคม 2540
    โหระพา ผักใบที่มีกลิ่นหอมหวานและหลากสายพันธุ์ เมื่อผู้เขียนยังเด็กและอาศัยอยู่ในชนบทภาคกลางอันเป็นบ้านเกิดนั้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 216 เมษายน 2540
    สลัดแขกปัจจุบันมีผู้สนใจเรื่องอาหารการกินเพื่อสุขภาพกันมากขึ้นอย่างเห็นได้ชัด หลายคนหลีกเลี่ยงอาหารที่กินแล้วกระตุ้นให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บ ถ้าเป็นกับข้าวก็มักเลี่ยงแกงที่ใส่กะทิ หันมากินแกงป่า แกงเลียง แกงจืด แกงส้ม ฯลฯ อาหารประเภททอดก็สนใจน้อยลง จะมีก็แต่เด็กวัยรุ่นเท่านั้นที่นิยมกินอาหารทอดๆ ตามอย่างฝรั่งโดยไม่เกรงว่า “โรคอ้วน” จะมาเยือน“เข้าครัว” ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 215 มีนาคม 2540
    ปลากราย กะเพรากรอบ“เข้าครัว” ฉบับแนะนำปลากราย กะเพรากรอบ อาหารจานด่วนที่มีวิธีทำไม่วุ่นวายเท่าไรนัก ทั้งได้รสชาติเข้มข้นคงถูกใจผู้ที่ชอบอาหารเผ็ดร้อนโดยเฉพาะคุณแม่บ้านที่ต้องทำงานนอกบ้านปลากราย กะเพรากรอบ จานนี้จะไม่ทำให้คุณยุ่งยากหรือเสียเวลามากในการลงมือปรุงให้สมาชิกในครอบครัวกินเป็นอาหารมื้อเย็น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 214 กุมภาพันธ์ 2540
    ตะไคร้จากหญ้ามาเป็นผักและเสาหลักของครัวไทย“อะไรเอ่ย ต้นเท่าครก ใบปรกดิน”คำทายสำหรับเด็กบทนี้ นิยมใช้ทายกันแพร่หลายในเขตภาคกลางของไทยเมื่อราว40 ปีที่ผ่านมาและอาจย้อนหลังไปได้อีกนับร้อยๆปี แต่ปัจจุบันเด็กไทยรุ่นใหม่คงไม่เคยได้ยินกันแล้ว ด้วยเหตุผลหลายประการ สำหรับผู้อ่านซึ่งมีอายุตั้งแต่สามสิบปีขึ้นไปและมีชีวิตวัยเด็กอยู่ในชนบทภาคกลาง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 214 กุมภาพันธ์ 2540
    ข้าวยำอาหารประเภทยำเป็นอาหารที่ให้ครบทุกรสชาติทั้งเปรี้ยว เค็ม หวาน เผ็ด สุดแล้วแต่ว่าใครจะชอบรสใดนำ และข้อดีของอาหารประเภทยำ คือมีไขมันไม่มาก เหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการควบคุมน้ำหนักอาหารประเภทยำที่ “เข้าครัว” จะแนะนำฉบับนี้อาจแปลกไปกว่ายำที่เราเคยเห็นบ่อยๆ ส่วนใหญ่เราจะคุ้นหน้าคุ้นตากับยำวุ้นเส้น ยำรวมมิตรทะเล คือจะมีอาหารทะเลประเภท กุ้ง หอย ปู ปลา ยำผักกระเฉด ฯลฯ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 213 มกราคม 2540
    แตงไทยผักและผลไม้ที่มีกลิ่นและรสชาติแบบไทยๆ“มันยกร่อง ฟักทอง แตงไทยอีสาวหน้ามล ทำไมเป็นคนหลายใจ...”เนื้อเพลงข้างบนนี้เป็นตอนขึ้นต้นเพลงลูกทุ่งยอดนิยมในอดีต ซึ่งขับร้องโดย ชาย เมืองสิงห์ ศิลปินแห่งชาติ ซึ่งยังคงร้องเพลงอยู่จนกระทั่งปัจจุบัน เพลงนี้ชื่อ “มันยกร่อง” ซึ่งไม่ได้เป็นชื่อมันชนิดพิเศษหรือพันธุ์ใหม่แต่อย่างใด หากแต่เป็นมันที่ปลูกบนพื้นที่ยกร่องสวน ...