ออกกำลังกาย

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 337 มิถุนายน 2550
    แค่ ขยับ เท่ากับ สุขภาพ move for healthธรรมชาติได้สร้างแขนขา และออกแบบชีวิต ของคนเราให้เคลื่อนไหว สมัยก่อนไม่มีสิ่งอำนวยความสะดวก มนุษย์ต้องเคลื่อนไหวร่างกายประกอบกิจกรรมต่างๆ เพื่อความอยู่รอด ตั้งแต่ต้องออกแรงมากๆ เช่น การเพาะปลูก การล่าสัตว์ จนถึงการออกแรงหรือเคลื่อนไหวทั่วไปเล็กน้อย ในชีวิตประจำวัน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 338 มิถุนายน 2550
    กวี คงภักดีพงษ์ สถาบันโยคะวิชาการการฟื้นฟูกลไก กาย-ใจ ปราณายามะ (3) พูรากะประกอบด้วย ๓ ขั้นตอนข้างต้น ฝึกปฏิบัติอย่างค่อยเป็นค่อยไป นุ่มนวล เป็นจังหวะ และต่อด้วยกุมภกะ คือ หยุดหายใจ ขณะหยุดลมหายใจนี้ "ปราณายามะมีการหยุดลมหายใจ มีสภาวะของการกดเกร็ง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 337 พฤษภาคม 2550
    โยคะกวี คงภักดีพงษ์ การหายใจแบบปราณายามะแตกต่างไปจากการหายใจทั่วไป ลักษณะสำคัญมากประการหนึ่งคือ ปราณายามะเน้นใช้กะบังลมที่อุ้งเชิงกราน (pelvic diaphragm) ซึ่งดูเหมือนจะมีผลต่อปริมาตรลมหายใจที่ค้างอยู่ในปอด (residual volume) การศึกษาของดอกเตอร์อัลลัน เฮมมิงเวย์ ที่โรงพยาบาลทหารผ่านศึกลองบีช พบว่าผู้ป่วยที่เป็นอัมพาต ครึ่งตัวซีกล่าง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 336 เมษายน 2550
    การฟื้นฟูกลไก กาย-จิตปราณายามะปราณายามะกำลังเริ่มเป็นที่กล่าวถึง มีรูปแบบการฝึกอันหลากหลาย โดยมีลักษณะสำคัญคือ การตั้งใจกำกับลมหายใจ บางคนเรียกปราณายามะว่า การฝึกลมหายใจ เมื่อใช้คำว่าการฝึกลมหายใจ ผู้ที่คุ้นเคยกับแนว คิดแบบตะวันตกอาจนึกไปถึงการฝึกสูดลมหายใจลึกๆ เพื่อให้ได้ปริมาณออกซิเจนมากๆ ซึ่งนั่นไม่ใช่ปราณายามะ ที่เรากำลังพูดถึง ปราณายามะอันมีรูปแบบการฝึกหลากหลาย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 335 มีนาคม 2550
    โยคะบำบัดบทที่ 3 การปรับสภาพของกลไก กาย-จิตมุทรา และ พันธะมุทราและพันธะคือเทคนิคพิเศษที่มีอยู่ในหฐโยคะ เทคนิคต่างๆ แทบทั้งหมดของมุทรา-พันธะประกอบด้วยการกดล็อกเส้นประสาท-กล้ามเนื้อเฉพาะจุด รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงความกดดันภายในร่างกายอย่างมาก (ดูภาพประกอบ) การฝึก มุทรา-พันธะมีผลโดยตรงต่อความแข็งแรงของอวัยวะภายใน การหลั่งของต่อมต่างๆ รวมถึงต่อมไร้ท่อ และปมประสาทสำคัญๆ บางจุด ในตำราดั้งเดิม ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 334 กุมภาพันธ์ 2550
    การควบคุมของระบบประสาทในอาสนะ (ต่อ)เป็นที่ทราบกันดีว่า บรรยากาศการทำงานในยุคเครื่องจักรไม่ช่วยส่งเสริมความสมดุลของกล้ามเนื้อเลย การต้องทำงานต่อเนื่องเป็นเวลานานหลายชั่วโมง ไม่ว่าจะบนโต๊ะทำงานหรือกับเครื่องจักร ในพื้นที่แคบๆในห้องที่แออัดไม่อาจทำให้ภาวะของกล้ามเนื้อเราอยู่อย่างเป็นปกติได้ ความบีบรัดทางเศรษฐกิจ ปัญหาสังคม การเมืองที่เกิดขึ้นไม่เว้นวัน ก็มีผลต่อความไม่สมดุลอย่างมาก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 334 กุมภาพันธ์ 2550
    เดินเพื่อสุขภาพคนทำงานนั่งโต๊ะมักไม่เคลื่อนไหวร่างกาย ทำให้เสี่ยงต่ออาการหัวใจขาดเลือด ความดันเลือดสูง เบาหวานและโรคมะเร็งบางชนิด การเดินเป็นการเคลื่อนไหวร่างกายที่ทำได้ในที่ทำงานปลอดภัย และถ้าเดินมากพอและเร็วพอจะช่วยป้องกันโรคดังกล่าว ฉบับนี้เสนอความรู้เกี่ยวกับการเดินแง่มุมต่างๆ เพื่อที่จะนำไปปฏิบัติได้จริงในชีวิตประจำวันพลังงานกับการเดินวัยเด็กที่เริ่มเดิน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 333 มกราคม 2550
    มวยไทยแอโรบิกออกกำลังกายแบบ "รักชาติ "มีใครบ้างที่ไม่รู้ว่า "การออกกำลังกาย "เป็นการดูแลรักษาสุขภาพที่ดีที่สุดน่าแปลกที่ร้อยทั้งร้อย ไม่มีใครปฏิเสธ แต่วิธีการอันง่ายแสนง่ายเพียงแค่การลุกขึ้นขยับแข้งขา หรือก้าวเท้าออกไปจากสถานที่ทำงานอันคับแคบ กลับเป็นหนทางอันยากเข็ญที่คนมากมายพยายามหลีกเลี่ยงเราหนีไปหาอาหารเสริมแพงๆ วิตามินสารพัดแหล่งสกัด เข็มขัดลดหน้าท้อง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 333 มกราคม 2550
    การควบคุมของระบบประสาทในอาสนะดังได้กล่าวไปแล้ว ทั้งจากหลักการของอาสนะและคำอธิบายของเชอริงตันโดยทั่วไป อิริยาบถที่นิ่ง สงบนั้น คือการที่กลไกระบบประสาทกล้ามเนื้อประสานงานกันได้พอเหมาะและใช้พลังงานน้อยที่สุด การคงสภาพและจัดปรับของอิริยาบถขึ้นกับการทำงานร่วมกันของระบบประสาทอัตโนมัติที่ละเอียดอ่อน มากมายประสานกับกล้ามเนื้อ ซึ่งกล้ามเนื้อมัดต่างๆ ที่เกี่ยวข้องถูกควบคุมโดยกลไกตอบสนองอันซับซ้อน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 332 ธันวาคม 2549
    อ้วน ...อ้วน ...อ้ ว น !"คนอ้วน คือคนที่มีไขมันสะสมในร่างกายมากกว่าปกติอันเนื่องมาจากกินอาหารเข้าไปมากกว่าปริมาณที่ร่างกายเผาผลาญหรือใช้ไป"โฆษณาบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ของค่ายหนึ่ง ที่ใช้ตัวแสดงสาว 2 คน คือ ทั้งอ้วนและผอม พูดพาดพิงถึงชีวิตการแต่งงานที่ผ่านมา 7 ปีแล้ว เดี๋ยวนี้แฟนเรียกว่า " ก้านกล้วย " ...