วิ่ง เดิน ปั่นจักรยาน ว่ายน้ำ แอร์โรบิค แอร์โรบอคซิ่ง รำกระบอง ไทเก็ก ชี่กง โยคะ

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 343 พฤศจิกายน 2550
    กวี คงภักดีพงษ์ สถาบันโยคะวิชาการ มูลนิธิหมอชาวบ้านเทคนิคโยคะอื่นๆ อนามัยในช่องคอและจมูกนอกจากอาสนะ ปราณยามะ ซึ่งเป็นเทคนิคหลักของโยคะที่ได้กล่าวมาแล้ว ยังมีเทคนิคโยคะอื่นๆ ที่สามารถนำมาใช้ในทางบำบัด ไม่ว่าจะเป็นการชำระล้างกระบวนการจัดปรับให้เข้ากับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงที่เราจะกล่าวถึงต่อไปชลเนติ (หรือตามตำราดั้งเดิมควรจะเรียกว่า ชลกะปาละภาติ)ตำราดั้งเดิมอธิบายวิธีการไว้ ๒ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 340 สิงหาคม 2550
    โยคะกวี คงภักดีพงษ์ สถาบันโยคะวิชาการ มูลนิธิหมอชาวบ้านการฟื้นฟูกลไกกาย-ใจ ปราณายามะ อุชชายีนอุชชายี เราหายใจเข้าผ่านทั้ง ๒ รูจมูก โดยเป็นการหายใจด้วยทรวงอก ผู้ฝึกขยายทรวงอกเพื่อให้ลมหายใจเข้าไปตามธรรมชาติ ระหว่างการหายใจเข้า โน้มฝาปิดกล่องเสียง (epiglottis) ลงบังหลอดลมส่วนหนึ่ง เหลือเป็นช่องเล็กๆ พอให้ลมหายใจไหลผ่านไปได้ การโน้มฝาปิดกล่องเสียงลงปิดหลอดลมเพียงบางส่วนแบบนี้นี่เอง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 341 สิงหาคม 2550
    กวี คงภักดีพงษ์ สถาบันโยคะวิชาการ มูลนิธิหมอชาวบ้านบทที่ 3 การปรับสภาพกลไกกาย- จิตสัมพันธ์ความสำคัญของ ปราณายามะปราณายามะเป็นสิ่งสำคัญยิ่งในโยคะ สำคัญขนาดตำราโบราณหลายๆ เล่ม ระบุว่า ไม่มีการฝึกใดจะสำคัญไปกว่าปราณายามะ โดยเฉพาะในแง่ของการชำระล้างกาย-ใจให้บริสุทธิ์ ยกตัวอย่างจากตำราหฐประทีปิกะบทที่ 3 ประโยคที่ 37 "ปราณายามะโดยตัวมันเอง เพียงพอต่อการชำระ มาละ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 339 กรกฎาคม 2550
    การฟื้นฟูกลไก กาย-ใจ ปราณายามะ (อนุโลม วิโลม)กวี คงภักดีพงษ์ สถาบันโยคะวิชาการ มูลนิธิหมอชาวบ้านลักษณะเฉพาะเจาะจงของการหายใจแบบปราณายามะอีกประการคือ ให้ความใส่ใจกับลมที่ผ่านรูจมูกแต่ละข้าง โดยส่วนใหญ่ ลมหายใจของรูจมูกซ้าย และรูจมูกขวาชัดไม่เท่ากัน กล่าวคือ รูจมูกข้างหนึ่งอาจะจะตันกว่า ขณะที่รูจมูกอีกข้างโล่งกว่าแล้ว กรณีนี้ไม่ใช่เหตุบังเอิญ แต่มีเหตุผลทางสรีรวิทยาประกอบอยู่ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 337 มิถุนายน 2550
    แค่ ขยับ เท่ากับ สุขภาพ move for healthธรรมชาติได้สร้างแขนขา และออกแบบชีวิต ของคนเราให้เคลื่อนไหว สมัยก่อนไม่มีสิ่งอำนวยความสะดวก มนุษย์ต้องเคลื่อนไหวร่างกายประกอบกิจกรรมต่างๆ เพื่อความอยู่รอด ตั้งแต่ต้องออกแรงมากๆ เช่น การเพาะปลูก การล่าสัตว์ จนถึงการออกแรงหรือเคลื่อนไหวทั่วไปเล็กน้อย ในชีวิตประจำวัน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 338 มิถุนายน 2550
    กวี คงภักดีพงษ์ สถาบันโยคะวิชาการการฟื้นฟูกลไก กาย-ใจ ปราณายามะ (3) พูรากะประกอบด้วย ๓ ขั้นตอนข้างต้น ฝึกปฏิบัติอย่างค่อยเป็นค่อยไป นุ่มนวล เป็นจังหวะ และต่อด้วยกุมภกะ คือ หยุดหายใจ ขณะหยุดลมหายใจนี้ "ปราณายามะมีการหยุดลมหายใจ มีสภาวะของการกดเกร็ง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 337 พฤษภาคม 2550
    โยคะกวี คงภักดีพงษ์ การหายใจแบบปราณายามะแตกต่างไปจากการหายใจทั่วไป ลักษณะสำคัญมากประการหนึ่งคือ ปราณายามะเน้นใช้กะบังลมที่อุ้งเชิงกราน (pelvic diaphragm) ซึ่งดูเหมือนจะมีผลต่อปริมาตรลมหายใจที่ค้างอยู่ในปอด (residual volume) การศึกษาของดอกเตอร์อัลลัน เฮมมิงเวย์ ที่โรงพยาบาลทหารผ่านศึกลองบีช พบว่าผู้ป่วยที่เป็นอัมพาต ครึ่งตัวซีกล่าง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 336 เมษายน 2550
    การฟื้นฟูกลไก กาย-จิตปราณายามะปราณายามะกำลังเริ่มเป็นที่กล่าวถึง มีรูปแบบการฝึกอันหลากหลาย โดยมีลักษณะสำคัญคือ การตั้งใจกำกับลมหายใจ บางคนเรียกปราณายามะว่า การฝึกลมหายใจ เมื่อใช้คำว่าการฝึกลมหายใจ ผู้ที่คุ้นเคยกับแนว คิดแบบตะวันตกอาจนึกไปถึงการฝึกสูดลมหายใจลึกๆ เพื่อให้ได้ปริมาณออกซิเจนมากๆ ซึ่งนั่นไม่ใช่ปราณายามะ ที่เรากำลังพูดถึง ปราณายามะอันมีรูปแบบการฝึกหลากหลาย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 335 มีนาคม 2550
    โยคะบำบัดบทที่ 3 การปรับสภาพของกลไก กาย-จิตมุทรา และ พันธะมุทราและพันธะคือเทคนิคพิเศษที่มีอยู่ในหฐโยคะ เทคนิคต่างๆ แทบทั้งหมดของมุทรา-พันธะประกอบด้วยการกดล็อกเส้นประสาท-กล้ามเนื้อเฉพาะจุด รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงความกดดันภายในร่างกายอย่างมาก (ดูภาพประกอบ) การฝึก มุทรา-พันธะมีผลโดยตรงต่อความแข็งแรงของอวัยวะภายใน การหลั่งของต่อมต่างๆ รวมถึงต่อมไร้ท่อ และปมประสาทสำคัญๆ บางจุด ในตำราดั้งเดิม ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 334 กุมภาพันธ์ 2550
    การควบคุมของระบบประสาทในอาสนะ (ต่อ)เป็นที่ทราบกันดีว่า บรรยากาศการทำงานในยุคเครื่องจักรไม่ช่วยส่งเสริมความสมดุลของกล้ามเนื้อเลย การต้องทำงานต่อเนื่องเป็นเวลานานหลายชั่วโมง ไม่ว่าจะบนโต๊ะทำงานหรือกับเครื่องจักร ในพื้นที่แคบๆในห้องที่แออัดไม่อาจทำให้ภาวะของกล้ามเนื้อเราอยู่อย่างเป็นปกติได้ ความบีบรัดทางเศรษฐกิจ ปัญหาสังคม การเมืองที่เกิดขึ้นไม่เว้นวัน ก็มีผลต่อความไม่สมดุลอย่างมาก ...