วิ่ง เดิน ปั่นจักรยาน ว่ายน้ำ แอร์โรบิค แอร์โรบอคซิ่ง รำกระบอง ไทเก็ก ชี่กง โยคะ

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 326 มิถุนายน 2549
    ยืนทำงาน ออกกำลังอย่างไรคนทำงานที่ต้องยืนนานมักประสบปัญหาอาการปวดน่อง เท้า และหลัง เป็นประจำ แถมด้วยอาการหลอดเลือดขอด ยืนทำงานมีผลเสียอย่างไรบ้างการยืนนานๆ จะส่งผลให้ร่างกายมีอาการผิดปกติ ดังต่อไปนี้ ๑.มีน้ำหนักกดอยู่ที่ฝ่าเท้าเป็นเวลานาน๒.กล้ามเนื้อน่องต้องทำงานตลอดเวลา๓.มีเลือดคั่งค้างอยู่ที่เท้า ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 325 พฤษภาคม 2549
    ปรับสภาพกลไก กาย-ใจโครงสร้างพื้นฐานจึงมีความสำคัญยิ่งที่จะก่อให้เกิดพฤติกรรมมนุษย์ทั้งภายในและภายนอก เมื่อมนุษย์อยู่ในสถานการณ์หนึ่งๆ เป็นเวลานาน กลไกการรับรู้ภายในจะก่อตัว และพัฒนาเป็นรูปแบบที่แน่นอนจนเป็นความเคยชิน ในครั้งที่แล้วได้มีการแสดงให้เห็นถึงทัศนะของโยคะที่มองว่า อังกะเมจะยัตวา แปลตรงตัวคือ สภาพแขนขาสั่นเทิ้ม หรือการรบกวนต่อสภาพปกติของร่างกายนั้น คือจุดเริ่มต้นของปฏิกิริยาลูกโซ่ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 324 เมษายน 2549
    "คืนนั้นคืนไหนใจแพ้ตัว คืนและวันอันน่ากลัวตัวแพ้ใจ ท่ามกลางแสงสีศิวิไลซ์ อาจหลงทางไปไม่ยากเย็น คืนนั้นคืนไหนใจเพ้อฝัน คืนและวันฝันไปไกลลิบโลกดั่งนกน้อยลิ่วล่องลอยแรงลมโบก พออับโชคตกลงกลางทะเลใจ"ข้างต้นเป็นบางส่วนของเพลง "ทะเลใจ" ที่ผู้อ่านหลายท่านคงรู้จักดี และคงอีกเช่นกันที่หลายท่านคงเคยประสบกับช่วงเวลา "กายแพ้ใจ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 324 เมษายน 2549
    ขอย้ำอีกครั้งว่า “ยมะ นิยมะ” ไม่ใช่เพียงเรื่องของการกำกับควบคุมอารมณ์จนหมดไป และอย่ามอง “ยมะ นิยมะ” ว่าเป็นเพียงมิติทางอารมณ์ แต่หากเป็นเรื่องของการพิจารณาไตร่ตรองจนตระหนักถึงคุณค่า ว่ามันเป็นสิ่งจำเป็นที่จะพาเราไปยังเป้าหมายท่ามกลางสิ่งเย้ายวน ความขัดแย้งภายในก็จะเกิดขึ้นเป็นระยะๆ ระหว่างการไตร่ตรองกับแรงกระตุ้นของอารมณ์ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 324 เมษายน 2549
    ในตอนที่แล้วได้นำเสนอการออกกำลังเพื่อเพิ่มสมรรถภาพของหัวใจและหลอดเลือด ในฉบับนี้ผู้เขียนขอนำเสนอวิธีการออกกำลังกายอีกแบบหนึ่งคือการออกกำลังกายแบบมีแรงต้านเพื่อเพิ่มความแข็งแรงและทนทานของกล้ามเนื้อคนทำงานต้องมีกล้ามเนื้อที่แข็งแรงและทนทาน เพื่อป้องกันอาการบาดเจ็บที่อาจเกิดขึ้นจากการทำงานความแข็งแรง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 324 เมษายน 2549
    เช้า คุยกับเพื่อนๆ ที่ชมรมออกกำลังกายสาย เขียนบันทึกประจำวันกลางวัน ดูโทรทัศน์บ่าย เล่นซออู้กลางคืน เล่นกับหลานวันหนึ่งไปเติมน้ำมัน ระหว่างที่รอก็มองกระจกสำรวจดูหน้าตาตัวเอง เริ่มเห็นว่าเข้าสู่วัยสูงอายุแล้ว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 323 มีนาคม 2549
    ยุคสมัยปัจจุบัน ศีลและวินัยดูจะเป็นอะไรที่ค่อนข้างยากและตายตัว บางคนถึงกับมองว่ามันเป็นผลเสียต่อสุขภาพทั้งกายใจ โดยเฉพาะแนวคิดของนักจิตวิทยากลุ่มฟรอยด์ มองว่ามันเป็นเพียงการกดข่ม ที่เต็มไปด้วยอันตรายยกตัวอย่างเช่น ผู้ประพฤติพรหมจรรย์มักถูกวิพากษ์วิจารณ์จากทั้งวงการแพทย์และนักจิตวิทยา ประเด็นที่โต้แย้งคือ ความขัดแย้งระหว่างการหักห้ามใจตนเองกับผลของมัน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 323 มีนาคม 2549
    ทุกวันนี้คนทำงานตื่นตัวกันมากในเรื่องการออกกำลังกาย ใครไม่เป็นสมาชิกของสถานออกกำลังกายออกจะไม่อินเทรนด์ (ตกโลกแห่งความทันสมัย) ในตอนนี้ผู้เขียนจึงขอนำเสนอความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกายชนิดต่างๆ เพื่อนำไปประยุกต์ใช้แต่ละบุคคลชนิดของการออกกำลังกายชนิดของการออกกำลังกายมีการแบ่งหลายแบบแล้วแต่วัตถุประสงค์ ยกตัวอย่างเช่น แบ่งชนิดของการออกกำลังกายเป็น ๑) แบบส่วนบุคคล ๒) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 323 มีนาคม 2549
    คนที่มีอายุยืนในโลกล้วนออกกำลังกายเป็นประจำการออกกำลังกายชนิดแอโรบิกทุกวัน วันละ ๓๐ นาที หรืออย่างน้อยสัปดาห์ละ ๓ วันเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของหัวใจ การสูบฉีดเลือดดีขึ้น ปลอดจากโรคหัวใจอันเป็นสาเหตุการตายอันดับต้นๆการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอยังทำให้สมองหลั่งสารสุข (เอ็นดอร์ฟิน) ทำให้เบาเนื้อเบาตัวทั่วสรรพางค์กายและความสุขเหลือล้นจึงมีอารมณ์ดี ไม่เครียด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 322 กุมภาพันธ์ 2549
    คนทั่วไปแปลคำศัพท์ "อหิงสา" ว่าการไม่ใช้ความรุนแรง และแปลคำศัพท์ "หิงสา"Ž หมายถึง ความรุนแรงจริงๆ แล้ว หิงสาน่าจะหมายถึง "ความตั้งใจ" ที่จะฆ่า ที่จะทำร้าย คำคำนี้ไม่ใช่ความหมายทางด้านการกระทำ แต่เป็นทางด้านทัศนคติมากกว่า หากเราเข้าใจความหมายอย่างถูกต้อง เราก็จะพลอยเข้าใจถึงสาระของมหากาพย์ ภควัทคีตา ที่เป็นเรื่องของอหิงสาด้วย คือเกิดความเข้าใจว่าทั้งๆ ...