การพักผ่อน

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 303 กรกฎาคม 2547
    ตีนเป็ด :คุณค่าจากผืนป่าสู่ชีวิตปัจจุบันผู้เขียนมีโอกาสเข้าร่วมฝึกอบรมหลักสูตรนานาชาติเรื่อง "นิเวศน์เกษตร" (Ecological Agriculture)จัดโดย องค์กรจากประเทศเนเธอร์แลนด์ ที่ประเทศอินเดียเมื่อปี พ.ศ.2529 ยังจำได้ว่าวิชาสำคัญอย่างหนึ่งที่เขาสอนและฝึกฝนให้คือ การสังเกต (observation) เพราะหัวใจของระบบเกษตรที่สอดคล้องกับระบบนิเวศหรือธรรมชาติก็คือ เข้าใจและทำให้สอดคล้องเหมาะสม ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 302 มิถุนายน 2547
    สปา ทางเลือกของคนรักสุขภาพและความงามธนนท์ ศุขสุขภาพ ไม่สามารถซื้อหาได้ แต่จะต้องปฏิบัติด้วยตัวเองเพราะสุขภาพเกี่ยวข้องกับร่างกายและจิตใจของแต่ละบุคคล คน100 คนก็มีวิถีชีวิต100 รูปแบบที่แตกต่างกัน ทว่ารูปแบบหรือหลักแห่งการดำเนินชีวิตของบุคคลอื่นนั้น บางสิ่งบางอย่างสามารถถ่ายทอด แนะนำให้เพื่อนพ้องน้องพี่สามารถนำไปปรับใช้ และเกิดผลในทางที่ดีขึ้นต่อสุขภาพ ด้วยข้อจำกัดของเวลา ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 301 พฤษภาคม 2547
    ทองกวาว : ความงามร้อนแรงแห่งฤดูแล้งเดชา ศิริภัทร/มูลนิธิข้าวขวัญปีนี้เป็นปีที่ถูกคาดหมายอย่างเป็นทางการจากกรมอุตุนิยมวิทยา ว่าจะเป็นปีแห่งความแห้งแล้งและร้อนจัดมากปีหนึ่งในรอบหลายๆ ปีที่ผ่านมา ในช่วงที่อากาศร้อนที่สุดในรอบปีคือเดือนเมษายนนี้คาดว่าอุณหภูมิอาจขึ้นสูงถึง43 องศาเซลเซียส ซึ่งสูงเทียบเท่าสถิติสูงสุดในรอบ70 ปีเลยทีเดียว สำหรับความแห้งแล้งยังประเมินได้ไม่ชัดเจน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 300 เมษายน 2547
    การให้น้ำกับสวนบำบัดในการทำสวนบำบัด กิจกรรมที่ยากที่สุด คือ การรดน้ำพืชและต้นไม้ในสวน การที่จะขนแบกถังน้ำเพื่อนำไปรดน้ำไม่ใช่เรื่องง่ายสำหรับคนทำสวนโดยเฉพาะถ้าคนทำสวนเป็นผู้สูงอายุ ผู้พิการ น้ำ ๑ ลิตร หรือ ๑,๐๐๐ ซีซีหนัก ๑ กิโลกรัม ถังน้ำใบหนึ่งอาจจุน้ำ ๕-๑๐ ลิตร หนัก ๕-๑๐ กิโลกรัม การขนเพียง ๒ เที่ยวอาจไม่มีปัญหา แต่ถ้าต้องขนหลายเที่ยว อาจทำให้กล้ามเนื้อล้า ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 300 เมษายน 2547
    รางจืด : ความงามและคุณค่าแห่งภูมิปัญญาไทยช่วงเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมา ผู้เขียนมีโอกาสเดินทางไปดูงานในประเทศพม่า (เมียนมาร์) รวม ๑๘ วัน เวลาส่วนใหญ่ใช้ในการเดินทางด้วยรถยนต์บนถนน ที่ยังไม่สะดวกนัก จากเมืองย่างกุ้งขึ้นไปทางตะวันออกเฉียงเหนือถึงเมืองตองยี แล้วเลี้ยวไปทางเมืองมัณฑเลย์ เมืองพุกาม เมืองอังวะ เมืองแปร กลับไปเมืองย่างกุ้ง ดูงานแถบปากน้ำอิระวดี ๒ วัน แล้วมุ่งตะวันออกไปทางชายแดนไทย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 298 มีนาคม 2547
    มาเล่นกล้ามกันเถอะ : (นักสร้างกล้ามเนื้อ)หลายคนเขาบอกว่าเล่นกล้าม จะนึกถึงอาร์โนลด์ ชวาร์ซเนกเกอร์ (Arnold Schwar zenegger) เท่านั้น ดาราฮอลลีวู้ด ที่ผันตัวเองมาเล่นการเมืองเป็นผู้ว่าการรัฐผมอยากจะบอกว่า นักกล้ามไม่จำเป็นต้องเหมือนอาร์โนลด์ ชวาร์ซเนกเกอร์ เท่านั้น ชายหนุ่มรูปงาม นายทหารที่สมาร์ต ผู้หญิงสวยเปรียว นักธุรกิจที่น่าเชื่อถือ นักการเมืองที่เก่ง ผู้นำประเทศที่มีฝีมือ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 299 มีนาคม 2547
    ทรงบาดาล : ความมั่นคงและคุ้มครองของไม้มงคลช่วงหลายปีที่ผู้เขียนใช้บ้านทรงไทยของมูลนิธิฯ เป็นที่พักค้างคืนยามมาทำงานในเขตจังหวัดสุพรรณบุรี หากนับเป็นจำนวนคืนก็คงเกินพันราตรี เมื่อมองทบทวนเหตุผลที่ผู้เขียนชอบพักค้างคืนบนบ้านทรงไทยหลังนี้มากกว่าบ้านพักของมูลนิธิฯ ในตัวเมืองสุพรรณฯ ที่มีความสะดวกสบายมากกว่า ก็พบว่า เหตุผลหลักเกิดจากบรรยากาศยามค่ำคืน และยามเช้าที่มีทั้งกลิ่นหอมตามธรรมชาติ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 298 กุมภาพันธ์ 2547
    การออกแบบสวนบำบัดการทำสวนบำบัดนั้น การออกแบบสวนที่ดีเป็นสิ่งสำคัญ เพราะต้องปรับสภาพสวนให้เหมาะกับความต้องการ หรือความพิการของแต่ละคน ขั้นตอนแรก ต้องประเมินความต้องการที่แท้จริง และข้อจำกัดต่างๆ ผู้ที่จะใช้สวนมีปัญหาด้านความสัมพันธ์ระหว่างมือกับตา ความทนทานของกล้ามเนื้อ ความสมดุล การมองเห็นหรือไม่ เคยมีปัญหาเรื่องการ เวียนศีรษะหรือการทรงตัวหรือไม่ สวนบำบัดนี้จะต้องจัดสภาพพิเศษสำหรับเด็ก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 298 กุมภาพันธ์ 2547
    บานชื่น : แด่ความสดชื่น เบิกบาน ในเดือนแห่งความรักเดือนกุมภาพันธ์เวียนกลับมาอีกครั้งหนึ่งตามวัฏจักรของกาลเวลา สำหรับคนไทยรุ่นใหม่ในยุคโลกาภิวัตน์นี้ เดือนกุมภาพันธ์เป็นเดือนพิเศษยิ่งเดือนหนึ่ง ในรอบปีที่พิเศษมิใช่เพราะเป็นเดือนเดียวที่มีจำนวนวันน้อยที่สุดในรอบปี คือ ไม่ถึง ๓๐ วัน และยิ่งกว่านั้นจำนวนวัน ยังไม่แน่นอนตายตัวอีกด้วย เนื่องจากทุกๆ ๔ ปี จะเปลี่ยนจาก ๒๘ วัน เป็น ๒๙ วัน (ดังเช่นในปี ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 297 มกราคม 2547
    รสสุคนธ์ : บริสุทธิ์ หอมหวานปานสุคนธรส"ขนมจีนแม่วัณฬา คู่กับน้ำยาพระอภัยถั่วงอกเสาวคนธ์ คู่กับพริกป่นหัสไชย..."บทกลอนที่ยกมาข้างบนนี้ เป็นบทเปรียบเทียบสิ่งที่คู่กันของคนไทยภาคกลาง ทำนองเดียวกันกับสำนวน "นกคู่ฟ้า ปลาคู่น้ำ" ...