การปฐมพยาบาล

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 394 กุมภาพันธ์ 2555
    บาดแผลเล็กน้อย ได้แก่ บาดแผลที่เกิดจากมีดบาด แผลสดจากกิ่งไม้หรือถูกก้อนหินแหลม บาดแผลมีรอยถลอกหรือหนังเปิด อาจมีเลือดออกเพียงเล็กน้อย ห้ามเลือดโดยใช้นิ้วหรือมือกด หรือพันผ้าก๊อซ เลือดหยุดและแผลหายได้เองโดยไม่ต้องใช้ยาหรือเข็มเย็บใดๆแผลเหล่านี้เป็นแผลเล็กน้อย เกิดขึ้นได้กับทุกคนตามร่างกาย ตั้งแต่มือ-เท้า หรือ แขน-ขา โดยไม่ต้องรักษาหรือดูแลเป็นพิเศษ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 392 ธันวาคม 2554
    ผู้ป่วยเรื้อรัง เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง โรคหัวใจ อัมพาต หืด ถุงลมปอดโป่งพอง ไตวายเรื้อรัง มะเร็ง โรคเลือด โรคความจำเสื่อม โรคจิต ควรปฏิบัติดังนี้ผู้ป่วยที่นอนติดเตียง ช่วยตัวเองไม่ได้ ผู้ป่วยที่ต้องล้างไตทางเลือดหรือทางช่องท้อง ต้องให้เลือดหรือฉีดยารักษา (เช่น เคมีบำบัด) บ่อย หรือต้องไปพบแพทย์บ่อย (ทุก ๑-๒ สัปดาห์) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 381 มกราคม 2554
    ถ้าอยู่ๆ ท่านมีอาการตัวฉุๆ เฉื่อยชา คิดช้า ทำอะไรช้าลงกว่าที่เคยเป็น และรู้สึกขี้หนาวกว่าคนอื่น ก็ควรสงสัยว่า อาจเป็นโรคขาดไทรอยด์โดยไม่รู้ตัวโรคนี้แพทย์จะให้การรักษาตามสาเหตุ ผู้ป่วยจำนวนไม่น้อยอาจตรวจไม่พบสาเหตุที่ชัดเจน และจำเป็นต้องกินยาฮอร์โมนไทรอยด์ทดแทนไปชั่วชีวิต ก็จะมีสุขภาพเป็นปกติ สามารถดำเนินชีวิตเช่นคนปกติทั่วไปชื่อภาษาไทย : โรคขาดไทรอยด์ โรคพร่องไทรอยด์ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 370 กุมภาพันธ์ 2553
    "การกู้ชีพ" หรือ "การช่วยฟื้นคืนชีพ"คือ ปฏิบัติการช่วยชีวิตคนที่หัวใจหยุดเต้นและหยุดหายใจกะทันหัน โดยใช้แรงมือกดหน้าอก และเป่าลมเข้าทางปาก ซึ่งไม่ต้องใช้อุปกรณ์การแพทย์ใดๆคนส่วนใหญ่มักคิดว่า "การกู้ชีพ" เป็นเรื่องยาก และเกี่ยวข้องกับบุคลากรทางการแพทย์หรือหน่วยกู้ภัยเท่านั้น ซึ่งที่จริงแล้วทุกคนสามารถเรียนรู้และฝึกฝนกันได้ผู้เขียนเคยทำโครงการฝึกกู้ชีพให้กับ อสม. โดยประดิษฐ์หุ่นราคาถูก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 353 กันยายน 2551
    ถาม : นที/สงขลาต้องการทราบวิธีการปฐมพยาบาลผู้ป่วยลมชักและการปฏิบัติตัว ทั้งยามฉุกเฉินและยามปกติตอบ : นพ.กัมมันต์ พันธุมจินดาปัจจุบันยังไม่มีวิธีใดที่สามารถหยุดอาการชักได้ แม้แต่ยากันชักที่ผู้ป่วยกินเป็นประจำ ดังนั้นจึงต้องปล่อยให้อาการชักดำเนินต่อไปจนสิ้นสุดระยะของอาการเองการปฐมพยาบาลเป็นเพียงการป้องกันไม่ให้เกิดบาดเจ็บระหว่างชักเท่านั้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 351 กรกฎาคม 2551
    แต่ละปีมีผู้เสียชีวิตจากการถูกงูกัดหลายราย พบว่าอายุระหว่าง 10-39 ปี ถูกงูกัดมากกว่าช่วงอายุอื่น และผู้ชายจะถูกงูกัดมากกว่าผู้หญิงประมาณ 2 เท่า ยกเว้นงูเขียวหางไหม้ ที่ผู้ชายและผู้หญิงมีโอกาสถูกกัดเท่าๆ กันการปฐมพยาบาลหลังถูกงูกัดจะต้องปฐมพยาบาลทันทีก่อนที่จะนำส่งโรงพยาบาล ซึ่งผู้ป่วยมักจะทำเอง ญาติพี่น้อง หรือเพื่อนฝูง คำแนะนำการปฐมพยาบาลผู้ที่ถูกงูกัด ได้แก่1. ใช้เชือก ผ้า ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 336 เมษายน 2550
    การบาดเจ็บของกระดูกคอและกระดูกสันหลังการบาดเจ็บของกระดูกคอและกระดูกสันหลัง เป็นอุบัติเหตุที่เกิดจากการตกจากที่สูง หรืออุบัติเหตุทางรถยนต์ ทำให้เกิดอันตรายรุนแรงถึงพิการและเสียชีวิตได้ถ้าหากได้รับการช่วยเหลือจากผู้ไม่มีความรู้ หรือให้การปฐมพยาบาลและเคลื่อนย้ายไม่ถูกวิธีการปฐมพยาบาล1. ถ้าบาดเจ็บบริเวณศีรษะและคอ ให้ศีรษะและคออยู่นิ่งๆ โดยผู้ช่วยเหลือประคองศีรษะบริเวณกกหูทั้ง2 ข้าง2. ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 334 กุมภาพันธ์ 2550
    กระดูกซี่โครงหัก
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 334 กุมภาพันธ์ 2550
    ข้อเท้าหัก
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 333 มกราคม 2550
    ต้นแขนหักการปฐมพยาบาล