เรียนรู้เรื่องเพศและการวางแผนครอบครัว

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 177 มกราคม 2537
    กรรมพันธุ์ - สายเลือด“คุณหมอครับ ลูกสาวผมเป็นโรคอะไรกันแน่ครับ เมื่อวานแม่เลี้ยงเขามาพบคุณหมอฟังคุณหมออธิบายเกี่ยวกับโรคที่ลูกสาวผมเป็น กลับไปบ้านโกรธผมมาก หาว่าเมื่อก่อนนี้ผมคงเที่ยวเก่งจนเลือดไม่ดี ติดให้ลูก ตอนนี้ภรรยาใหม่คนนี้ของผมกำลังตั้งครรภ์ ก็เป็นห่วงว่าจะได้เลือดไม่ดีจากผมอีก...” ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 173 กันยายน 2536
    ตรวจร่างกาย ก่อนแต่งงานการแต่งงานหรือการมีชีวิตคู่นั้นเป็นเรื่องที่ละเอียดอ่อนและสำคัญต่อชีวิตของคู่หญิง-ชายมากนัก เนื่องเพราะก่อนแต่งงานต่างฝ่ายต่างเคยใช้ชีวิตตามวิถีที่ตนพอใจมาโดยตลอด แต่ครั้นเมื่อต้องมาใช้ชีวิตคู่ ความแตกต่างในชาติกำเนิด เศรษฐกิจ วัฒนธรรมของแต่ละครอบครัว อุปนิสัยส่วนตัว พันธุกรรม โรคภัยไข้เจ็บประจำตัว และอื่นๆ จึงถือเป็นเรื่องที่ต้องทำความเข้าใจกันให้ได้ก่อนแต่งงาน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 170 มิถุนายน 2536
    สิทธิการลาคลอด90 วัน ขณะนี้ปัญหาเกี่ยวกับแรงงานหญิงที่ทุกคนให้ความสนใจเป็นพิเศษ ก็คือ เรื่องสิทธิการลาคลอด90 วัน ซึ่งแต่เดิมนั้นลาได้30 วัน และได้รับค่าจ้างครบตามจำนวน แต่ทางรัฐวิสาหกิจเดิมมีสิทธิลาคลอดได้ถึง60 วัน ซึ่งทางภาคเอกชนก็ควรมีสิทธิลาคลอดได้ในเวลาที่เท่ากันปัญหานี้เริ่มดึงความสนใจต่อแรงงานหญิงเมื่อ2 ปีที่แล้ว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 170 มิถุนายน 2536
    เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ช่วยคุมกำเนิดไปในตัว เคยมีผู้ถามอยู่บ่อยๆ ว่าการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่จะทำให้มีลูกห่างถี่ได้แค่ไหน อย่างที่ทราบกันอยู่แล้วว่า การหลั่งน้ำนมในคนช่วยให้หญิงเหล่านั้นป้องกันการมีครรภ์ได้ถึง6 เดือนหลังคลอด วิธีนี้จะช่วยได้ดีหรือไม่ขึ้นอยู่กับว่าผู้หญิงคนนั้นใช้วิธีคุมกำเนิดอย่างอื่นด้วยหรือไม่นักค้นคว้าวิจัยชาวออสเตรเลียได้รวบรวมข้อมูลจากหญิงที่มีประจำเดือน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 170 มิถุนายน 2536
    ปฏิสนธิชีวิตใหม่ การเจริญเติบโตของตัวอ่อนหลายสิ่งหลายอย่างที่เกิดขึ้นในโลก บางครั้งผลของมันที่ออกมาก็ดูเหมือนง่ายดาย แต่แท้จริงแล้วกระบวนการเกิดของมันซับซ้อนยุ่งยาก เช่นเดียวกับกลไกการเกิดมนุษย์ที่ได้เคยกล่าวไว้บ้างแล้วในตอนก่อนๆ ท่านผู้อ่านบางท่านอาจจะนึกสงสัยอยู่ครามควัน เอ๊! เมื่อไหร่จะคลอดเสียทีนะ เดี๋ยวค่ะ...ใจเย็นๆ อดใจรออีกสักนิด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 169 พฤษภาคม 2536
    ปฏิสนธิชีวิตใหม่ การเจริญเติบโตของตัวอ่อน (ต่อ)8วันนี่ก็ปาเข้าไปตั้งวันที่8 ของการเกิดปฏิสนธิแล้ว อะไรๆ ในมดลูกก็เปลี่ยนแปลงไปมากโขทีเดียว ถึงตอนนี้ตัวอ่อนบลาสโตซิสต์ (Blastocyst) หาที่ซุกตัวเพื่อรอการเจริญเติบโตต่อไปได้แล้ว และเพื่อให้การยึดเกาะแหล่งพำนักพักพิงในมดลูกเป็นไปได้โดยสะดวกยิ่งขึ้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 168 เมษายน 2536
    ปฏิสนธิชีวิตใหม่ (ตอนที่ 4)การเจริญเติบโตของตัวอ่อน (ต่อ)2 วันภายหลังจากที่อสุจิได้เข้าผสมกับไข่ และเซลล์ได้เริ่มมีการแบ่งตัวแบบทวีคูณ เมื่อเวลาแห่งการปฏิสนธิได้ก้าวล่วงเข้าสู่วันที่ 2 ไข่ได้แบ่งตัวออกถึง 8 เซลล์ (จากภาพที่เห็นเป็น 4 ฟอง) และกระบวนการเช่นนี้จะยังคงดำเนินต่อไปตลอดการเดินทางจากรังไข่เพื่อเข้าสู่มดลูกโดยใช้เวลา 3 วัน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 167 มีนาคม 2536
    ทำหมันชาย เสี่ยงภัยจากมะเร็งจริงหรือ?“ลูกมากจะยากจน” คำขวัญของคนยุคใหม่ ยุคที่จะต้องเบียดเสียดแย่งกันทำมาหากิน จนกระทั่งกลัวไปว่าลูกหลานที่กำลังเกิดขึ้นมาจะลำบากการทำหมันชายเป็นวิธีการคุมกำเนิดที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งสามารถหยุดการเกิดได้ผลดี วิธีการไม่ยุ่งยากอะไรมากนัก เพียงแต่ตัดสายท่อนำน้ำเชื้ออสุจิออกเท่านั้น กระนั้นก็ตาม มักมีข่าวไม่ดีออกมาอยู่เสมอว่า ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 167 มีนาคม 2536
    ปฏิสนธิชีวิตใหม่ (ตอนที่ 3)การเจริญเติบโตของตัวอ่อนการต่อสู้ของตัวอสุจินับล้านๆ ตัวเพื่อแย่งชิงความเป็นหนึ่งในฐานะผู้พิชิตไข่ได้สิ้นสุดลงไปแล้วเมื่อฉบับที่ผ่านมา ซึ่งนั่นก็เท่ากับว่าหน้าที่ของตัวอสุจิที่แข็งแรงที่สุดได้เสร็จสิ้นลงแล้วเช่นกัน จากนี้ไปไข่ที่ได้รับการผสมก็จะพัฒนาตัวเองไปอย่างต่อเนื่องจนกว่าจะเติบโตเป็นทารกที่สมบูรณ์และพร้อมที่จะออกมาดูโลกภายนอกต่อไป ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 166 กุมภาพันธ์ 2536
    ปฏิสนธิชีวิตใหม่ (ตอนที่ 2)การเดินทางของอสุจิเมื่อครั้งที่หนุ่ม (สาว) น้อย หนุ่ม (สาว) ใหญ่ในเวลาที่เป็นเด็กเล็กๆ และด้วยอยู่ในวัยอยากรู้อยากเห็น หลายคนอาจจะยังคงจำได้ว่าตนเองเคยมีคำถามซุกซนมาทำให้คุณพ่อคุณแม่ลำบากใจที่จะตอบเสมอ เป็นต้นว่า“พ่อฮับ ป๋องเกิดมาได้ไงฮะ”“แม่ฮับ ...