บทความมาใหม่

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 4 สิงหาคม 2522
    จ้าวโรค 4 อสูรย์ตัวจริง“หนูไม่ยอม!!”หนูไม่ยอม หนูไม่ยอม คราวที่แล้วถึงเวรหนูเขียนตอนอสูรย์ยอดรักแต่นายทริโคโมแนส ถือว่าตัวโตกว่าถือโอกาสแซงคิวไปก่อน เห็นไหมละไม่ได้ความเลย สู้หนูก็ไม่ได้ หนูน่ะเป็นผู้หญิง หรืออย่างน้อยก็มีคนเรียกหนูว่า ลูกสาว (daughter cell) หนูไม่รู้จักพ่อหร๊อก เพราะหนูมีแต่แม่ แม่ของหนูอ้วนกว่าหนูอีก ตัวรีๆ รูปร่างน่ารัก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 4 สิงหาคม 2522
    “นมไหนใครว่าแน่ นมแม่ซิแน่กว่าใคร”สมัยนี้ วิวัฒนาการทางด้านอาหารของเด็กได้พัฒนาการก้าวหน้าไปไกลโดยเฉพาะในวงการ นมกระป๋อง หรือนมสัตว์ซึ่งได้รับความนิยมจากบรรดาคุณแม่ทั้งหลายในอันที่จะนำมาเลี้ยงลูกของตนเองและประกอบกับผู้หญิงเราจะต้องออกไปทำงานนอกบ้านเพื่อหารายได้มาช่วยค่ำจุนครอบครัวของตน เพราะจะรอให้ฝ่ายชายหาเลี้ยงเพียงคนเดียวก็ไม่พอกินแน่ ดังนั้นในการที่แม่จะให้นมของตนเองแก่ลูก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 3 กรกฎาคม 2522
    ปอดกับการหายใจ1หลอดลมใหญ่ (Trachea)2หลอดลมซ้ายกับขวา (Left £ Right Bronchus)3หลอดลมเล็ก (Small bronchus)4หลอดลมฝอย (Bronchiole)5ท่อถุงลม (Alveolus, Alveoli)6เส้นเลือดฝอย (Capillary)7หัวใจ (heart)รูปที่1 โครงสร้างของปอดอากาศจะผ่านหลอดลมใหญ่1 ซึ่งเป็นท่อประกอบด้วยกระดูกอ่อนและกล้ามเนื้อยาว 25 ซ.ม. จากนั้นจะแยกออกเป็น 2 ข้าง คือ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 3 กรกฎาคม 2522
    เผลอแพล้บเดียว “หมอชาวบ้าน” อายุได้ 3เดือนแล้วครับ ถ้าเป็นเด็กก็จวนพลิกคว่ำได้แล้ว ที่น่ายินดีก็คือ “หมอชาวบ้าน” ได้รับคามสนใจย่างกว้างขวางโดยรวดเร็ว ฉบับแรกขายได้ 100 เปอร์เซ็นต์ ฉบับที่ 2 ต้องเพิ่มยอดการพิมพ์อีก 50 เปอร์เซ็นต์ และฉบับที่ 3 อีก 150 เปอร์เซ็นต์ ที่ยังแย่ก็คือ สถานภาพทางการเงินครับ คือแต่ละเล่มที่ท่านผู้อ่านซื้อไปในราคา 10 บาทนั้น เราขาดทุน 1 บาท ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 3 กรกฎาคม 2522
    นมแม่ช่วยเด็กขาดอาหารก็เพราะความยากจน ความไม่เข้าใจ ความไม่รู้ ขนบธรรมเนียมประเพณี บางอย่างของท้องถิ่น เป็นสาเหตุทำให้เกิดการขาดอาหารในเด็กเล็กวัยก่อนเรียนมากขึ้นจนเป็นปัญหาทุโภชนาการในประเทศทุกวันนี้ ปัจจุบันนี้ เด็กวัยก่อนเรียนมีทั้งสิ้นประมาณ 7 ล้านคน ขาดอาหารเสียประมาณ 5 ล้านคนศาสตราจารย์ นพ. อารี วัลยะเสวี ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยโภชนาการ ได้ให้สัมภาษณ์ในเรื่องดังกล่าว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 3 กรกฎาคม 2522
    กินยาผิดชีวิตถึงตายสูบบุหรี่ ดื่มเหล้า กินอาหารที่มีรสชาติ สีสัน ผิดปกติ เช่น ลูกชิ้นเด้ง ขนมใส่สี ผงชูรส เหล่านี้ล้วนส่งเสริมให้มนุษย์เราตายผ่อนส่งขึ้นทุกวันอยู่แล้ว เมื่อไม่นานมานี้มีข่าวในหน้าหนังสือพิมพ์เรื่องกินยาผิดแล้วตายโดยปัจจุบันทันด่วนเลยทีเดียวเรื่องก็มีอยู่ว่า คนไข้เคราะห์ร้ายเป็นฝีที่ข้อมือ แล้วเกิดอักเสบขึ้นมาจึงให้ลูกสาวไปซื้อยาชุดมากิน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 3 กรกฎาคม 2522
    ตอน 3: การซักประวัติการฝึกฝนตนเองให้เป็นหมอรักษาคนไข้นั้น จำเป็นต้องฝึกฝนทั้งทางใจ และกาย ทางใจเป็นสำคัญที่สุด เพื่อให้มีความรักเมตตาในเพื่อนมนุษย์ที่เจ็บไข้ และความปรารถนาที่จะช่วยให้เพื่อนมนุษย์เหล่านั้นให้พ้นทุกข์ทรมานจากโรคภัยไข้เจ็บ ทางกายมีความสำคัญรองลงมา แต่ก็จำเป็นที่จะต้องมานะบากบั่น พยายามฝึกฝน ปาก หู ตา จมูก และมือ ให้ชำนิชำนาญ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 3 กรกฎาคม 2522
    ช็อคเราเคยได้ยินคำว่า ช็อค มานานแล้ว และบางทีชินหูเสยจนไม่รู้ความหมายของมันว่าเป็นอะไรกันแน่ ในทางการแพทย์ ช็อค หมายถึง ภาวะที่ร่างกายหมดความสามารถที่จะดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างปกติ เหตุที่สำคัญที่สุดก็คือ เลือดไม่สูบฉีดไปหล่อเลี้ยงร่างกายส่วนต่างๆ ได้อย่างพอเพียงความบกพร่องที่ทำให้เลือดไม่ถูกสูบฉีดไปเลี้ยงร่างกายมีหลายอย่าง ที่นับว่าสำคัญมี 2 อย่าง คือ1. หัวใจทำงานไม่ได้เต็มที่ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 3 กรกฎาคม 2522
    เสี้ยนตำเราคงเคยถูกเสี้ยนหรือหนามตำกันมาบ้าง วิธีบ่งเสี้ยนหรือหนามนั้นพ่อแม่ พี่ ป้า น้า อาใช้กันมานมนานจนไม่ต้องสอนกันอีก แต่การบ่งหนามหรือเสี้ยนให้ปลอดภัยและไม่มีโรคแทรกนั้นต้องมีวิธี และการเตรียมการที่แตกต่างไปจากที่เคยทำมานิดหน่อยผิวหนังของร่างกายรานี้เต็มไปด้วยจุลินทรีย์ หรือแบคทีเรียตัวเล็กๆ จนมองด้วยตาเปล่าไม่เห็นบางชนิดทำให้เกิดโรคได้ อย่างน้อยก็ทำให้มีการอักเสบเป็นหนอง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 3 กรกฎาคม 2522
    เบ็ดเกี่ยวฤดูหน้าตกปลา เด็กๆ มักถูกเบ็ดเกี่ยวนิ้ว เกี่ยวหน้า เกี่ยวแก้มก็เคยมี เบ็ดมีเงี่ยงเมื่อเกี่ยวแล้วถอนยาก ถ้าออกแรงถอนจริงๆ ก็คงออกแต่เนื้อคงกระจาย และเจ็บปวดน่าดู วิธีทำง่ายๆ ที่ใครๆ ก็ทำได้ ก็คือ ใช้แรงดันให้เบ็ดที่เกี่ยวนั้นโผล่ขึ้นมาพ้นเงี่ยง ซึ่งก็คงจะมีความเจ็บปวดอยู่บ้าง แต่น้อยกว่าการถอนเบ็ดกลับมาก ถ้าเกิดที่ปลายนิ้ว ควรบีบที่โคนนิ้วไว้สักครู่ พอปลายนิ้วรู้สึกชา ...