บทความมาใหม่

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 395 มีนาคม 2555
    การทำงานยกของหนัก คุกเข่า ขึ้นบันได เพิ่มโอกาสเข่าเสื่อมหรือไม่(Jensen LK. Knee osteoarthritis: influence of work involving heavy lifting, kneeling, climbing stairs or ladders, or kneeling/squatting combined with heavy lifting. Occup Environ Med 2008;65:72-89.)การรวบรวมการศึกษาทางระบาดวิทยาเกี่ยวกับโรคเข่าเสื่อมกับการยกของหนัก คุกเข่า ขึ้นบันได ระหว่าง พ.ศ.๒๕๐๙-๒๕๕๐ ได้การศึกษาคุณภาพดี ๒๕ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 395 มีนาคม 2555
    คนไทยบริโภคน้ำมันพืชปีละกว่า ๘ แสนตัน และมีผู้บริโภคส่วนหนึ่งใช้น้ำมันที่ผ่านการทอดอาหารซ้ำเป็นเวลานาน นอกจากทำให้คุณค่าทางโภชนาการลดลงแล้วยังมีอันตรายต่อสุขภาพ มีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจ โรคหลอดเลือด และโรคความดันโลหิตสูง มีความเสี่ยงต่อการได้รับสารก่อมะเร็ง ซึ่งทั้งหมดนี้เป็นโรคที่มีอัตราป่วยและอัตราตายในระดับสูง ส่วนน้ำมันที่เราใช้อยู่ในชีวิตประจำวัน มีด้วยกัน ๒ ชนิด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 395 มีนาคม 2555
    เนื้องอกมดลูก เป็นเนื้องอกที่เกิดขึ้นในตัวมดลูก ซึ่งเป็นเนื้องอกชนิดธรรมดา ไม่ใช่มะเร็ง พบบ่อยในหญิงวัยเจริญพันธุ์ อาจพบที่ตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่งของตัวมดลูก มีขนาดต่างๆ กันไป อาจเป็นก้อนเดียวหรือหลายก้อนก็ได้ บางชนิดโตช้า บางชนิดโตเร็วถ้าเป็นเนื้องอกก้อนเล็ก ผู้ป่วยจะไม่มีอาการผิดปกติใดๆ อาจตรวจพบโดยบังเอิญเมื่อไปตรวจสุขภาพหรือปรึกษาแพทย์ด้วยปัญหาอื่น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 395 มีนาคม 2555
    เมื่อหมอนรองกระดูกของส่วนหลังปลิ้นทับเส้นประสาทด้วยสาเหตุใดๆ ก็ตาม ผู้ป่วยจะมีอาการปวดร้าวลงขา กรณีนี้ต้องพบผู้เชี่ยวชาญเพื่อที่จะแยกโรคและอาการอื่นๆ ออก เช่น โรคมะเร็งกระดูก โรคข้อเสื่อม และอาการกล้ามเนื้ออักเสบ การรักษาหมอนรองกระดูกปลิ้นทับเส้นประสาท ได้แก่ การรักษาทางยาและทางกายภาพบำบัดช่วง ๖-๑๒ สัปดาห์แรกมีความสำคัญมาก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 395 มีนาคม 2555
    โรคศูนย์กลางจอประสาทตาเสื่อม คืออะไรโรคศูนย์กลางจอประสาทตาเสื่อม (Macular Degeneration) เป็นกลุ่มโรคที่เกิดจากความเสื่อมในส่วนกลางของจอประสาทตา ซึ่งเกิดเมื่อคนเรามีอายุเพิ่มมากขึ้น นับเป็นสาเหตุสำคัญทำให้มีความสูญเสียความสามารถในการมองเห็นในผู้สูงอายุปัจจุบันประชากรโลกมีอายุเพิ่มมากขึ้น จึงพบว่าโรคนี้เป็นปัญหาทางสาธารณสุขมากขึ้นเรื่อยๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 395 มีนาคม 2555
    โรคละลอกฉบับที่แล้วได้กล่าวถึงโรคผิวหนังที่พระไตรปิฎกระบุว่ามีอยู่ในสมัยพุทธกาล เช่น โรคเรื้อน โรคฝี โรคฝีดาษ โรคสิว โรคกลาก โรคเริม โรคพุพอง โรคหิด โรคละลอก โรคหูด โรคคุดทะราด โดยได้กล่าวถึงโรคสิวไปแล้ว ครั้งนี้จะขอกล่าวถึงโรคผิวหนังโบราณที่ชื่ออาจไม่คุ้นหูนักในปัจจุบันบันนี้คือโรคละลอก เมื่อเอ่ยถึงโรคละลอกนี้คงต้องกล่าวถึงการเสด็จสวรรคตของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ตอนเด็กๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 395 มีนาคม 2555
    การให้บริการอาหารคนไข้ เพื่อให้ได้อาหารที่สะอาด มีสารอาหารครบถ้วน พอดีกับความต้องการของร่างกาย และเหมาะสมกับภาวะโรค เป็นงานหนึ่งที่อยู่เบื้องหลังความสำเร็จในการรักษาพยาบาลฝ่ายโภชนาการฝ่ายโภชนาการเป็นหน่วยงานหนึ่งของโรงพยาบาล รับผิดชอบผลิตและให้บริการอาหารคนไข้ ตามหลักโภชนศาสตร์ ดำเนินการเรื่องโภชนบำบัด ครอบคลุมการคัดกรองและดูแลภาวะโภชนาการ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 395 มีนาคม 2555
    ถาม :สุมาลี/ปทุมธานีช่วงน้ำท่วมนอกจากต้องระวังข้าวของเสียหายแล้ว ยังต้องระวังเชื้อโรคต่างๆ ที่มากับน้ำท่วมอีก เช่น โรคฉี่หนู ซึ่งครอบครัวของดิฉันต้องระวังเรื่องนี้กันมาก จึงอยากรู้จักโรคนี้ให้มากขึ้นค่ะตอบ :พญ.ยุพิน ศุพุทธมงคลภาวะน้ำท่วมขังอาจทำให้มีการแพร่ระบาดของ “โรคฉี่หนู” หรือ “โรคเล็ปโตสไปโรซิส” โดยเชื้อโรคจะปนเปื้อนมากับน้ำ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 395 มีนาคม 2555
    ถาม :บังอร/พระนครศรีอยุธยาในกรณีที่น้ำท่วมขัง มีวิธีการดูแลป้องกันและปฐมพยาบาลเบื้องต้นเมื่อถูกสัตว์มีพิษกัดอย่างไรบ้างตอบ :นพ.วินัย รัตนสุวรรณน้ำท่วมขัง อาจก่อให้เกิดโรคผิวหนังได้หลายชนิด แต่ละชนิดมีลักษณะแตกต่างกันไปโรคผิวหนังชนิดแรกที่จะเกิดหลังการสัมผัสน้ำสกปรกอย่างต่อเนื่อง คือ โรคน้ำกัดเท้า เนื่องจากสิ่งสกปรกและสารเคมีต่างๆ ที่ปะปนอยู่ในน้ำท่วมขัง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 395 มีนาคม 2555
    ถาม :กัญญา/กรุงเทพฯโรคมะเร็งสามารถรักษาด้วยวิธีการแพทย์แผนปัจจุบัน ควบคู่ไปกับการรักษาด้วยสมุนไพรได้หรือไม่คะตอบ :นพ.อดุลย์ รัตนวิจิตราศิลป์การรักษามะเร็งในแผนปัจจุบัน มีทั้งการผ่าตัด ฉายแสง และเคมีบำบัด ซึ่งยาเคมีบำบัดส่วนหนึ่งจะมีสารประกอบที่สำคัญจากสมุนไพร เช่น ยา vincristine หรือ vinblastine ซึ่งใช้ในการรักษาโรคมะเร็งหลายชนิด โดยเฉพาะมะเร็งต่อมน้ำเหลือง ...