บทความมาใหม่

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 211 พฤศจิกายน 2539
    “ไวน์” กับโรคหลอดเลือดหัวใจในโลกของข้อมูลข่าวสารทำให้ผู้ผลิตต้องคำนึงถึงคุณภาพและประโยชน์ของสินค้าตนเองมากขึ้น ปัจจุบันเราจะพบเห็นสินค้าต่างๆ โฆษณาหรือประชาสัมพันธ์คุณภาพสินค้าของตนเองให้เกี่ยวข้องกับเรื่องสุขภาพมากขึ้น ไม่ว่าจะมีคุณประโยชน์เพียงบางส่วนหรือเท่าไรก็ตาม ก็จะถูกนำมากล่าวถึงเป็นส่วนสำคัญหลักของสินค้านั้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 211 พฤศจิกายน 2539
    ดัดตนแก้ลมขาขัดฉบับนี้ขอเน้นเรื่องแข้งขาอีกครั้งเพราะบางท่านมัวแต่เกาะแข้งขาของคนอื่นจนลืมแข้งขาของตัวเอง จะนึกถึงก็ต่อเมื่อขาไม่ค่อยมีแรงเดินแล้ว แม่บ้านของผมมีน้ำหนักตัวมาก เพราะลืมเอาใจใส่แข้งขาตัวเอง มัวแต่ห่วงคนอื่นจะมีสุขภาพไม่ดี ต่อเมื่อตัวเองไม่มีแรงจะเดินแล้วถึงนึกขึ้นได้ว่าถ้าไม่ดูแลตัวเองบ้างก็คงจะเดินไม่ได้แน่ เพราะขณะนั้นเวลาเดินต้องโยกตัวช่วยจึงพอจะเดินได้ แต่ไม่ค่อยดี ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 211 พฤศจิกายน 2539
    มันสมองของเรามีรูปร่างอย่างไรถ้าเราสามารถมองผ่านเข้าไปในกะโหลกศีรษะ เพื่อดูมันสมองของเราได้ จะพบว่ามีลักษณะคล้ายเมล็ดวอลนัต(walnut)สีเทา มีหลอดเลือดสีแดงคลุมอยู่ทั่วไปเปลือกภายนอกของสมองจะมีรอยย่นอยู่ทั่วไป สมองส่วนนี้เรียกว่าเปลือกสมอง (cerebral cortex) ส่วนนี้เป็นส่วนสั่งงานและส่วนรับความรู้สึกของสมอง จะคลุมส่วนอื่นทั้งหมดคล้ายหลังคา ตรงกลางมีร่อง ซึ่งแบ่งสมองส่วนนี้ออกเป็น2 ซีก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 211 พฤศจิกายน 2539
    น้ำหนักตัวในระหว่างตั้งครรภ์หัวข้อสนทนาระหว่างหญิงตั้งครรภ์ด้วยกันที่เราได้ยิน มักจะเป็นเรื่องเกี่ยวกับวันกำหนดคลอด ลูกดิ้นหรือยัง แพ้ท้องมากไหม และสิ่งที่หลายคนจะถามไถ่กันเสมอคือน้ำหนักเพิ่มขึ้นเท่าไร ?น้ำหนักเพิ่มเท่าไรจึงจะดีนั้น บางคนอาจจะเพิ่มเพียง5 กิโลกรัมใน3 เดือนแรก ขณะที่บางคนจะมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน จนไม่มีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นเลย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 211 พฤศจิกายน 2539
    เรื่อง “ไข้”(ตอนที่ 2)คนไข้รายที่4 ชายอายุ 4o ปี ถูกพามาโรงพยาบาลเพราะมีไข้สูง ไอเป็นเลือดและหอบเหนื่อยมา2 วันคนไข้ : “หมอ ช่วยผมด้วย ไอจนเจ็บหน้าอกไปหมดแล้ว”หมอ : “คุณเป็นมากี่วันแล้ว” คนไข้ : “2 วันครับ อยู่ดีๆ ก็เป็นไข้หนาวสั่นขึ้นมา ต่อมาก็ไอ และไอมากขึ้นเรื่อยๆ มีเลือดออก และเจ็บหน้าอกด้านขวามากครับ”หมอ : “3-4 วันก่อน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 211 พฤศจิกายน 2539
    บริหารข้อ (ตอนที่ 1) ร่างกายของเรามีข้อต่อมากมายเพื่อช่วยในการเคลื่อนไหว ลองนึกภาพดูว่าหากร่างกายเราไม่มีข้อต่อเลย มีแต่กระดูกแท่งตรงๆ เวลาเดินเราก็คงเดินเหมือนหุ่นยนต์ มือก็ใช้จับสิ่งของไม่ได้ ฯลฯ ดังนั้น ข้อ จึงเป็นอวัยวะหนึ่งที่มีความสำคัญมากกับร่างกายของมนุษย์ข้อ ที่ใช้มานานย่อมมีการเสื่อมตามอายุการใช้งาน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 209 ตุลาคม 2539
    ทำไมเขาถึงฆ่าตัวตายการพยายามฆ่าตัวตายในวัยรุ่นมีสถานการณ์ที่เลวร้ายขึ้น อะไรคือสิ่งที่ทำให้เกิดเหตุการณ์เช่นนี้ขึ้น และเราจะช่วยกันแก้ไขสถานการณ์นี้ได้อย่างไรสถานการณ์จากการศึกษาทางระบาดวิทยาในประเทศตะวันตกพบว่าการฆ่าตัวตายสำเร็จในวัยรุ่นมีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อยๆในสหรัฐอเมริกาอัตราการฆ่าตัวตายในกลุ่มอายุ ๑๕-๒๔ ปี เพิ่มขึ้นถึงร้อยละ๔o ในช่วงเวลา ๑o ปี คือ เพิ่มจาก ๘.๘ คนต่อประชากรแสนคนในปี ๒๕๑๓ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 210 ตุลาคม 2539
    หมอวิทิต วัณนาวิบูล กับสุขภาพองค์รวมการแพทย์มีหลากหลายที่เรียกว่า การแพทย์พหุลักษณ์ การที่มีการแพทย์หลายๆลักษณะนั้นเป็นของดี เพราะไม่มีการแพทย์ระบบใดที่ใช้ได้ดีทุกเรื่อง ทุกครั้ง และสำหรับทุกคน เรื่องหนึ่งที่ตระหนักรู้กันมากขึ้นก็คือสุขภาพเป็นเรื่องของทั้งหมด ไม่ใช่เป็นเรื่องมดหมอหยูกยาเท่านั้น แต่เกี่ยวกับจิตใจ จิตวิญญาณ สังคม สิ่งแวดล้อม อาหาร การออกกำลัง ธรรมชาติบำบัด ธรรมชาติโอสถ ฯลฯ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 210 ตุลาคม 2539
    สุขภาพ คือองค์รวมของหลายสิ่งฉบับนี้ มีเรื่องราวเกร็ดเล็กเกร็ดน้อยที่น่าสนใจ คือเรื่อง “ปัสสาวะยารักษาโรค” ของคุณหมอเกษียร ภังคานนท์ เรื่อง นี้เคยฮือฮาในบ้านเราเมื่อ2-3 ปีก่อน เมื่อมีชาวญี่ปุ่นอาวุโสท่านหนึ่งมาเผยแพร่ว่า ปัสสาวะสามารถรักษาโรคเอดส์ได้คุณหมอเกษียรได้เล่าเกร็ดประวัติของเรื่องนี้ย้อนไป 5,000 ปี รวมทั้งการรณรงค์เรื่องนี้ในยุคปัจจุบัน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 210 ตุลาคม 2539
    เด็กไทยได้รับยาปฏิชีวนะเกินปัจจุบันเด็กไทยเวลาไม่สบายนิดหน่อยหรือเป็นหวัด พ่อแม่มักจะพาไปหาหมอ หรือซื้อยากินเองโดยดูจากยาเก่า หรือใช้ยาเก่า ฯลฯ ซึ่งการปฏิบัติเช่นนี้ทำให้เด็กได้รับยาไม่เหมาะสม ได้รับยาเกินความจำเป็น โดยเฉพาะยาปฏิชีวนะจากการศึกษาในโรงพยาบาลใหญ่แห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานครพบว่า กุมารแพทย์และแพทย์ฝึกหัด ...