นิตยสารหมอชาวบ้าน
เล่มที่:
426
เดือน/ปี:
ตุลาคม 2557
จากข้อมูลการสำรวจเมื่อปี พ.ศ. 2555 ของคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พบว่าในปีนั้น โรงพยาบาลขนาดใหญ่ทุกสังกัดในเขตกรุงเทพมหานคร มีผู้ป่วยโรคมะเร็งชนิดต่างๆเทียวเข้าเทียวออกรักษาตัวประมาณ 30,000 กว่าคนข้อมูลจากเขตภาคใต้ตอนบนพบว่า ในช่วงเวลาเดียวกันนั้น มีคนไทยที่ป่วยเป็นมะเร็งเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลศูนย์มะเร็งสุราษฎร์ธานี, โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี ...
นิตยสารหมอชาวบ้าน
เล่มที่:
425
เดือน/ปี:
กันยายน 2557
....ตี 3 กว่าแล้ว.... แต่เปเป้ยังคงตื่นอยู่ ตายังสว่าง นั่งเฝ้าอยู่หน้าจอคอมพิวเตอร์ เล่มเกมส์อย่างเพลิดเพลินเมามัน...บางเวลาก็สลับไปchatกับเพื่อนชมรมคนนอนดึกเช่นเดียวกัน ในเรื่องสัพเพเหระประสาวันรุ่น ...
นิตยสารหมอชาวบ้าน
เล่มที่:
424
เดือน/ปี:
สิงหาคม 2557
ประเทศไทยเริ่มมีการปลูกยางพารา ซึ่งเป็นพืชพื้นเมืองของอเมริกาใต้แถบลุ่มน้ำอเมซอน ตั้งแต่เมื่อใดไม่มีการบันทึกเป็นหลักฐานที่แน่นอน แต่คาดว่าน่าจะเริ่มในช่วงประมาณปี พ.ศ. ๒๔๔๒ – ๒๔๔๔ (สมัยรัชกาลที่ ๕) ซึ่งพระยารัษฏานุประดิษฐ์ มหิศรภักดี (คอซิมบี้ ณ ระนอง) ...
นิตยสารหมอชาวบ้าน
เล่มที่:
423
เดือน/ปี:
กรกฎาคม 2557
มีการประมาณว่า คนไทยจำนวน ๑ ใน ๓ ของประเทศ คือ ราว ๒๐ ล้านคน ในทุกวันนี้ เดิน ขับรถ กินข้าว ทำงาน หรือ แม้กระทั่งตอนไปจ่ายกับข้าว เดินห้าง แล้วใช้มือถือแนบกับหู คุยไปด้วย ทำภารกิจไปด้วยแม้กระทั่งเด็กๆก็มีแนวโน้วใช้โทรศัพท์มือถือมากขึ้น เด็กป.๑ – ป.๒ ในโรงเรียนดังๆในเมืองใหญ่กว่าครึ่งห้อง เอามือถือไปโรงเรียน และใช้ application ...
นิตยสารหมอชาวบ้าน
เล่มที่:
422
เดือน/ปี:
มิถุนายน 2557
โรงพยาบาล “สัปปายะ”“คับแคบ แออัด ร้อนอบอ้าว เหม็นกลิ่นยา ไม่มีรถโดยสารผ่าน ไปลำบากตอนกลางคืน ไม่มีที่จอดรถ หาอาหารการกินลำบาก เจ้าหน้าที่พูดจาไม่เพราะ นอนไม่ค่อยหลับเพราะหนวกหู เตียงเต็มต้องนอนระเบียง ห้องน้ำไม่สะอาด ฯลฯ” โรงพยาบาลใกล้บ้านท่านเป็นอย่างนี้หรือเปล่าครับ?คำว่า “สัปปายะ” เป็นภาษาบาลี เป็นคำที่ปรากฏอยู่ในพระวินัยปิฎก ...
นิตยสารหมอชาวบ้าน
เล่มที่:
421
เดือน/ปี:
พฤษภาคม 2557
ครอบครัวแหว่งกลาง ปูเป้ เด็กชายวัย 4 ขวบวิ่งเล่นอยู่ในลานบ้านกับสุนัขตัวโปรด ขณะที่ตาแม้นและยายศรี นั่งอยู่บนแคร่หน้าบ้าน คุยกับเพื่อนบ้านอยู่ ขณะที่ผมเข้าไปแนนำตัวและทักทาย สองตายกุลีกุจอปัดกวาดแคร่ ขยับที่ทางให้ผมนั่งด้วย “พ่อกับแม่ปูเป้ ...
นิตยสารหมอชาวบ้าน
เล่มที่:
420
เดือน/ปี:
เมษายน 2557
ผู้อภิบาลลำสนธิ (Careteam) “ลุงๆระวังหล่นลงมานะ” เสียงตะโกนเตือนจากใต้ต้นไม้..... ผมมองขึ้นไป แทบไม่เชื่อสายตาตัวเองว่า ร่างที่ปีนลิ่วๆอยู่บนต้นสะเดาอย่างคล่องแคล่วข้างบนนั้น จะเป็นชายชราอายุ อานามปาเข้าไป ๖๕ ปีแล้ว ที่มีชื่อว่าลุงบุญธรรม ...
นิตยสารหมอชาวบ้าน
เล่มที่:
419
เดือน/ปี:
มีนาคม 2557
12 วิธีทำบุญให้โรงพยาบาลคนไทยเราเป็นคนมีจิตใจโอบอ้อมอารี มีรอยยิ้มอยู่บนใบหน้าเสมอ มีเมตตาธรรมเป็นเครื่องค้ำจุนอยู่ในหัวใจ นิยมการทำบุญด้วยการให้ทานและช่วยเหลือเผื่อแผ่สงเคราะห์ผู้อื่นอยู่เป็นนิจ ในที่นี้ผมอยากให้ข้อเสนอวิธีการทำบุญแบบใหม่ นอกเหนือจากการทำบุญกับวัด (ทอดกฐิน, ทอดผ้าป่า, ถวายสังฆทาน, ตักบาตร), ทำบุญกับผู้ยากไร้ด้วยการให้ทานบริจาค, ...
นิตยสารหมอชาวบ้าน
เล่มที่:
418
เดือน/ปี:
กุมภาพันธ์ 2557
มุมมองส่องหลักประกันศาสตราจารย์ Anne Mills รองผู้อำนวยการ London School of Hygiene & Tropical Medicine แห่งประเทศอังกฤษ ซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญในการศึกษาวิจัยระบบเศรษฐศาสตร์สุขภาพ และระบบสุขภาพในประเทศกำลังพัฒนาทั้งหลาย ได้รับการเชื้อเชิญให้มาประชุมในประเทศไทยเมื่อเร็วๆนี้ ท่านได้ติดตามและมีส่วนช่วยเหลือการพัฒนาระบบการเงินการคลังของโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทย ...
นิตยสารหมอชาวบ้าน
เล่มที่:
417
เดือน/ปี:
มกราคม 2557
เขยฝรั่ง….กับบริการสุขภาพไทย…ในช่วง ๑๕–๒๐ ปีที่ผ่านมา…หากใครนั่งเครื่องบินสายกรุงเทพ-อุดรธานี จะพบว่ามีผู้โดยสารเป็นผู้ชายฝรั่งซึ่งท่าทางการแต่งเนื้อแต่งตัวและบุคลิกดูไม่ละม้ายเหมือนักท่องเที่ยว แต่จะดูพื้นๆกลืนไปกับคนไทย นั่งโดยสารมาด้วยเที่ยวละ ๑๐–๒๐ คน บางคนก็เดินทางคนเดียว บางคนก็มีผู้หญิงไทยที่ดูท่าทางจะเป็นแฟนหรือภรรยานั่งมาด้วย ฝรั่งเหล่านี้ ...