แพทย์แผนจีน

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 189 มกราคม 2538
    พยากรณ์ร่างกายได้จากนิ้วดังที่เคยได้กล่าวแล้วว่าร่างกายของมนุษย์เป็นองค์รวมที่เป็นหนึ่งเดียวกัน เมื่ออวัยวะหนึ่งอวัยวะใดเกิดโรค ก็จะส่งผลกระทบต่อร่างกายทั้งระบบ ด้วยเหตุนี้การดูลักษณะของนิ้วมือจึงสามารถบอกความแข็งแรงของอวัยวะได้1. หัวแม่มือ นิ้วมือทั้ง 5 นั้น นิ้วหัวแม่มือทางการแพทย์จีนถือว่าเป็นนิ้วที่สำคัญที่สุด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 188 ธันวาคม 2537
    ลักษณะของนิ้วมือการแพทย์จีนเชื่อว่าความแข็งแรงของพลังม้าม(ในทัศนะของแพทย์จีน) มีผลกระทบต่อสมรรถนะของมือโดยตรง นอกจากนี้นิ้วทั้งห้ายังสามารถสะท้อนสภาพความแข็งแรงของร่างกายตามขั้นตอนของวัยที่แตกต่างกัน คือ (ตารางที่ 1)การดูลักษณะของนิ้วนั้นที่สำคัญคือ ดูความสั้นยาว ความตรง ความคด ความอ่อน ความแข็ง สีของนิ้วมือ เป็นต้น ลักษณะต่างๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 187 พฤศจิกายน 2537
    ชิกุง 18 ท่า กายบริหารลมปราณเพื่อสุขภาพ (ตอนจบ)ฉบับนี้มาฝึกต่ออีก 9 ท่า จะได้ครบ 18 ท่า ท่าซึ่งถือว่าครบกระบวนท่า เพราะการออกกำลังกายนั้นต้องทำให้ครบทุกท่าติดต่อกันตามจำนวนครั้งที่กำหนดไว้ จึงจะมีผลทำให้สุขภาพร่างกายแข็งแรงหากท่านอ่านฉบับนี้เลยอาจจะงง ควรกลับไปอ่านฉบับที่แล้วก่อน แล้วจึงอ่านฉบับนี้ต่อท่าที่ 10หายใจเข้า เมื่อผลักมือซ้ายออกไปแล้ว ให้หันฝ่ามือเข้าหาตัวในระดับตา ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 187 พฤศจิกายน 2537
    ลายมือบอกโรคลายเส้นบนฝ่ามือของมนุษย์นั้น เป็นสิ่งที่ดึงดูดความสนใจของมนุษย์มาโดยตลอดตั้งแต่อดีตกาลจวบจนปัจจุบันนี้ จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์คือเครื่องปั้นดินเผายุคสังคมบุพกาลที่ขุดพบที่หมู่บ้านป้านพอ มณฑลซีอาน ซึ่งมีอายุกว่า 6,000 ปีมาแล้ว เครื่องปั้นดินเผาเหล่านั้นมีรอยพิมพ์นิ้วมือปรากฏให้เห็น นับเป็นเครื่องปั้นดินเผาที่เกี่ยวข้องกับเส้นลายมือที่เก่าแก่ที่สุดของโลก นอกจากนี้เมื่อประมาณ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 186 ตุลาคม 2537
    ชิกุง 18 ท่า กายบริหารลมปราณเพื่อสุขภาพ (ตอนที่ 1)การบริหารร่างกาย คือ การเคลื่อนไหวส่วนต่างๆโดยวิธีการที่เหมาะสม แต่การบริหารจิตคือ การฝึกฝนการหายใจและทำสมาธิจิตให้นิ่งและสงบการออกกำลังแบบชิกุง 18 ท่า มีผลค่อนข้างดีต่อการรักษาโรคเรื้อรังหลายชนิด เช่น ความดันเลือดสูง โรคหัวใจ ไขข้ออักเสบ หืดหอบ โรคกระเพาะ โรคเครียด ปวดหลัง ปวดเอว และท้องผูก เป็นต้นท่าเริ่มต้น ยืนตัวตรง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 184 สิงหาคม 2537
    ลิ้นคือหน้าต่างของร่างกายการเกิดและดำเนินของโรคนั้นเป็นกระบวนการที่ค่อนข้างสลับซับซ้อน การดูลิ้นเป็นวิธีการอย่างหนึ่งที่ทำให้เราเข้าใจการดำเนินและการเปลี่ยนแปลงของโรคได้ หลักการสำคัญในการดูลิ้นนั้น กล่าวโดยรวมๆแล้วก็คือ การดูตัวลิ้นและฝ้าบนลิ้น โดยทั่วไปแล้วการดูลักษณะของลิ้นจะทำให้เราเข้าใจสภาพร่างกายของผู้ป่วย และความรุนแรงของโรค ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 183 กรกฎาคม 2537
    ลิ้นทางคลินิกการดูลิ้นเป็นวิธีการในการวินิจฉัยโรควิธีหนึ่งของแพทย์จีน การดูลิ้นนั้นจะต้องดูที่ตัวลิ้น (สีของลิ้น รูปร่างลักษณะของตัวลิ้น) และฝ้าบนลิ้น (สีของฝ้าบนลิ้น)ทฤษฎีการแพทย์จีนนั้นเชื่อว่า อวัยวะต่างๆของร่างกายเป็นองค์รวมที่ตรงกันข้าม และเป็นเอกภาพกัน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 182 มิถุนายน 2537
    ภาพจำลองย่อส่วนของร่างกายมนุษย์ ฉบับที่แล้วผู้เขียนได้กล่าวถึง “ลิ้นบอกโรค” และได้กล่าวถึงทฤษฎีการแพทย์จีนที่กล่าวถึงเส้นลมปราณ ซึ่งทำหน้าที่เชื่อมโยงอวัยวะภายในต่างๆเข้าด้วยกัน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 181 พฤษภาคม 2537
    เส้นลมปราณ : ลิ้นบอกโรคการแพทย์จีนได้อธิบายไว้ว่า อวัยวะต่างๆภายในร่างกายและนอกร่างกายนั้นมีเส้นลมปราณ (จีนเรียกว่า จิงลั่ว) ซึ่งเป็นทางเดินของเลือดและพลังเส้นลมปราณนั้นทำหน้าที่เชื่อมโยงอวัยวะภายในต่างๆเข้าด้วยกัน และยังเชื่อมอวัยวะภายในและภายนอกเข้าด้วยกันอีกด้วย เป็นระบบที่เชื่อมโยงติดต่อสัมพันธ์กันทั้งระบบด้วยเหตุนี้ เมื่ออวัยวะภายในผิดปกติ ก็จะส่งผลกระทบกระเทือนถึงอวัยวะภายในอื่นๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 179 มีนาคม 2537
    การฝังเข็มแบบดุลยภาพ การแพทย์นอกระบบที่ไม่ควรมองข้ามบทนำบันทึกประสบการณ์ชุด “ในทุกข์ยังมีสุข” ซึ่งถ่ายทอดโดย นายแพทย์วินันท์ ศิริกนกวิไล ชุดนี้ เป็นการเสนอวิธีคิดใหม่ๆ ในบางแง่มุมของชีวิตที่น่าสนใจให้กับผู้อ่าน โดยเฉพาะท่านผู้อ่านที่รู้สึกว่าตนเองกำลังตกอยู่ในภาวะที่สิ้นหวัง ล้มเหลวในชีวิตคงจะได้ประโยชน์จากข้อเขียนชุดนี้มากทีเดียว ...