โรคเรื้อรัง (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)

  • วารสารคลินิก 260 สิงหาคม 2549
    หลังจากที่แนะนำให้รู้จักความปวดและการประเมินความปวดในบทความตอนที่ 1 แล้วนั้น เมื่อผู้รักษาสามารถวินิจฉัยความปวดได้แต่เนิ่นๆ และประเมินปวดได้แล้ว จึงควรมาทำความรู้จักกับการรักษาความปวด. ในที่นี้จะเน้นเฉพาะปวดเรื้อรังจากมะเร็งหรือโรคระยะสุดท้ายต่างๆ จะไม่เน้นเรื่องการรักษาปวดเฉียบพลันหรือปวดเรื้อรังอื่นๆ อาทิเช่น ปวดไมเกรน ปวดอุ้งเชิงกรานเรื้อรังจากเยื่อบุมดลูกเจริญผิดที่ ...
  • วารสารคลินิก 259 กรกฎาคม 2549
    Q  :   โรคเบาหวานมีผลกระทบต่อดวงตาของผู้ป่วยอย่างไรบ้างA  :   ตา เป็นอวัยวะหนึ่งที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำตาลในเลือดสูง คือโรคเบาหวาน เช่นเดียวกับอวัยวะหลายๆ อวัยวะในร่างกาย โดยสามารถแบ่งภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นกับดวงตาออกเป็น 3 กลุ่มใหญ่ๆ คือ1. ภาวะแทรกซ้อนเฉียบพลัน ...
  • วารสารคลินิก 258 มิถุนายน 2549
    นักวิจัย สกว. พบหนทางใหม่ช่วยรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็งมีโอกาสหายได้มากขึ้น ด้วยการเพิ่มจำนวนและประสิทธิภาพการทำงานของเม็ดเลือดขาวที่จำเพาะต่อการทำลายเซลล์ มะเร็ง ระบุในระดับหลอดทดลอง เซลล์เม็ดเลือดขาวมีประสิทธิภาพมากกว่าเดิมถึง 100 เท่า สามารถทำลายเซลล์มะเร็งได้ดี เผยขณะนี้ขยายผลทดลองในหนู ...
  • วารสารคลินิก 259 มิถุนายน 2549
    มากกว่า 2 ใน 3 ของผู้ป่วยมะเร็งขั้นลุกลามมีความปวดรุนแรง1,2  ความปวดเหล่านี้มีผลทำให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยลดลง. ความทนทุกข์ทรมานจากอาการปวดเรื้อรังเป็นเวลานานส่งผลถึงสภาวะทางจิตใจและอารมณ์ของผู้ป่วยมะเร็งและคนรอบข้าง. American Pain Society จึงจัดความปวดเป็นสัญญาณชีพอย่างที่ 5 ที่แพทย์ควรจะประเมินเหมือนกับสัญญาณชีพอื่นๆ เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการรักษาอาการปวดอย่างทันท่วงทีและเพียงพอ ...
  • วารสารคลินิก 257 พฤษภาคม 2549
    นักวิจัยพบสมุนไพรเห็ดหลินจือช่วยลดอาการไข่ขาวรั่วในปัสสาวะของผู้ป่วยโรคไตได้ หนทางใหม่ในการเยียวยารักษาป้องกันผู้ป่วย เข้าสู่ภาวะไตวาย เชื่อไม่เพียงช่วยให้ผู้ป่วยไม่ทุกข์ทรมาน ยังเป็นการลดภาระการรักษา.โรคไตเรื้อรังเนฟโฟรสิสชนิด focal segmental sclerosis คือกลุ่มผู้ป่วยโรคไตที่มีอาการบวมโดยพบมีภาวะไข่ขาวรั่วในปัสสาวะออกมามากเกินปริมาณที่มีการกำหนดไว้คือมากกว่าประมาณ 3.5 กรัม/วัน ...
  • วารสารคลินิก 257 พฤษภาคม 2549
    ถาม  :  ...
  • วารสารคลินิก 256 เมษายน 2549
    เป็นที่ทราบกันโดยทั่วไปแล้วว่า Human papillomavirus (HPV) เป็นไวรัสที่ก่อให้เกิดการติดเชื้อของเยื่อบุปากมดลูกชนิด squamous และการคงอยู่ของการติดเชื้อชนิดนี้เป็นความเสี่ยงสูง (high risk oncogenic HPV) ต่อการเป็นมะเร็งปากมดลูก. อย่างไรก็ตาม HPV มีอยู่ด้วยกันหลาย genotypes ก็ทำให้เกิดอาการแสดงทางคลินิกได้หลากหลายรูปแบบเช่นกัน ตัวอย่างเช่น HPV-6, HPV-11 จะก่อให้เกิดโรคหูดบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ ส่วน ...
  • วารสารคลินิก 256 เมษายน 2549
    Dam RM van, et al. Coffee, caffeine, and risk of type 2 diabetes A prospective cohort study in younger and  middle-aged US. Women. Diabetes Care 2006;29:  398-403.ผู้ที่กินกาแฟวันละ 5 ถ้วยขึ้นไปเป็นประจำมี ความเสี่ยงต่อเบาหวานน้อยกว่าคนทั่วไป แต่ถ้ากินกาแฟไม่ถึงวันละ 5 ถ้วย หรือถ้ากินกาแฟประเภทปลอดกาเฟอีนจะลดความเสี่ยงต่อเบาหวานได้หรือไม่.การศึกษาแบบ cohort study ...
  • วารสารคลินิก 253 มกราคม 2549
    การดื่มแอลกอฮอล์มีผลกระทบต่อสุขภาพร่างกายของผู้ดื่มทั้งทางตรงและทางอ้อม โดยผลกระทบนั้นสามารถเกิดได้กับอวัยวะต่างๆ  เช่น ทางเดินอาหาร ตับ สมอง หัวใจและหลอดเลือด เป็นต้น.ผลของการดื่มแอลกอฮอล์ต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด พบว่าเกิดทั้งโทษและประโยชน์ ซึ่งโดยทั่วไปประโยชน์มักจะพบได้ในผู้ที่ดื่มแอลกอฮอล์ในปริมาณเล็กน้อยถึงปานกลาง.ส่วนผู้ที่ดื่มแอลกอฮอล์ในปริมาณมากมักจะพบโทษได้เป็นส่วนใหญ่. ...
  • วารสารคลินิก 239 พฤศจิกายน 2547
    (Berrington de Gonzalez A, Darby S. Risk of cancer from diagnostic  X-rays : estimates for the UK and 14 other countries. Lancet 2004;363: 345-51.) การตรวจด้วยรังสีเอกซ์เป็นสาเหตุที่ทำให้คนเราได้รับรังสีเข้าสู่ร่างกายมากที่สุด คิดเป็นสัดส่วนถึงร้อยละ 14 ของแหล่งกำเนิดรังสีทั้งหมดทั่วโลก. ข้อมูลจาก 15 ประเทศ เกี่ยวกับความถี่และประเภทของรังสีเอกซ์ที่มีการใช้ในประเทศต่างๆ ...