โรคเรื้อรัง

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 342 กันยายน 2550
    นพ.สมเกียรติ แสงวัฒนาโรจน์ สาขาวิชาโรคหัวใจและหลอดเลือด ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยโรคร้ายสะสมจากการบริโภค ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 340 สิงหาคม 2550
    พญ.ชลีรัตน์ ดีเรกวัฒนชัย คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดีโรคหืดในเด็ก ควบคุมได้ด้วยตนเององค์การอนามัยโลก (WHO) ประมาณการว่าทั่วโลกมีผู้ป่วยด้วยโรคหืด ๑๕๐ ล้านคน และเสีย ชีวิตปีละมากกว่า ๑๘๐,๐๐๐ คน และกลุ่มของผู้ที่รอดชีวิตก็มีคุณภาพชีวิตต่ำลงโรคหืดเป็นปัญหาสาธารณสุขทั่วโลกที่จะต้องได้รับการแก้ไข พบว่าผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงมาก รุนแรงปานกลาง และรุนแรงน้อย แต่สัดส่วนการเสียชีวิตใกล้เคียงกัน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 340 สิงหาคม 2550
    การใช้ยา พอเพียงภก.วิรัตน์ ทองรอดยารักษาโรค (หอบ) หืดในเด็ก (๑)คำถาม ลูกของดิฉันเป็นหอบหืด ควรเลือกใช้ยาอย่างไร?โรคนี้เป็นโรคหนึ่งที่พบได้บ่อยในเด็กไทย โดยทั่วไปนิยมเรียกกันว่า "หอบหืด" แต่ในทางการแพทย์จะ เรียกสั้นๆ ว่า "โรคหืด" ซึ่งแสดงอาการ "หายใจลำบาก" โดยตัดคำว่า "หอบ" ออกไป ทั้งนี้เพราะมีโรคอื่นๆ อีกหลายชนิดที่มีอาการหอบ แต่ไม่ได้เป็นหืด เช่น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 340 สิงหาคม 2550
    ความดันโลหิตสูงคำจำกัดความความดันโลหิต คือ แรงดันเลือด ที่เกิดจากหัวใจ สูบฉีดเลือดไปเลี้ยงร่างกาย การวัดความดันโลหิตสามารถทำโดยใช้เครื่องมือหลายชนิด แต่ชนิดที่นิยมใช้กันอยู่ทั่วไป เช่น เครื่องวัดความดันโลหิตมาตรฐานชนิดปรอท เครื่องวัดความดันโลหิตดิจิตอลชนิดอัตโนมัติ ค่าของความดันโลหิตมีหน่วยเป็น มิลลิเมตรปรอท จะมี๒ ค่า๑ความดันตัวบน (ซีสโตลิก) เป็นแรงดันเลือด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 341 สิงหาคม 2550
    ภก.วิรัตน์ ทองรอดยารักษาโรค (หอบ) หืดในเด็ก (ตอนจบ)คำถาม ลูกของดิฉันเป็นหอบหืด ควรเลือกใช้ยาอย่างไร?ฉบับที่แล้วได้กล่าวถึงยารักษาโรคหืดในเด็ก โดยได้กล่าวถึงโรคหืดในเด็ก สาเหตุ สิ่งกระตุ้น ยาสูดเพื่อรักษาโรคหืด และยาบรรเทาอาการจับหืด ในฉบับนี้จะขอกล่าวถึงยารักษาโรคหืดในเด็ก ซึ่งจะกล่าวถึงยาที่ใช้ เพื่อควบคุมอาการ วิธีการใช้ยาสูด ขั้นตอนการสูดยาอย่างง่ายๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 338 มิถุนายน 2550
    นพ.สุรเกียรติ อาชานานุภาพการป้องกันโรคมะเร็งหมอชาวบ้านฉบับนี้ว่าด้วย "โรคมะเร็งลำไส้ใหญ่" ซึ่งเป็นมะเร็งที่พบได้บ่อยชนิดหนึ่ง ในปัจจุบันเทคโนโลยีทางการแพทย์มีส่วนช่วยให้สามารถค้นพบมะเร็งในระยะแรก และมีวิธีบำบัดรักษาให้มีชีวิตยืนยาวและ/หรือมีคุณภาพชีวิตที่ดี อย่างไรก็ตาม หากสามารถหลีกเลี่ยงไม่ให้ตกเป็นเหยื่อของโรคมะเร็งก็ย่อมจะดีกว่าเป็นแน่ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 338 มิถุนายน 2550
    พลตรี รศ.นพ.ปริญญา ทวีชัยการ กองศัลยกรรม โรงพยาบาลพระมงกุฏเกล้า ประธานชมรมศัลยแพทย์ลำไส้ใหญ่และทวารหนัก (ประเทศไทย)มะเร็งลำไส้ใหญ่ ภัยเงียบที่เอาชนะได้มะเร็งเป็นโรคร้ายแรงที่ทุกคนป้องกันได้ ด้วยตนเอง แต่ถ้าเป็นมะเร็งแล้วอาการ อยู่ในระยะที่ไม่สาหัสจนเกินไป แพทย์ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 337 พฤษภาคม 2550
    รุกฆาต! เบาหวานผลการสำรวจพบว่า ผู้ป่วยเบาหวานในประเทศไทยมีจำนวนกว่า ๓ ล้านคน ตัวเลขที่น่าตกใจนี้มีสาเหตุจากการพัฒนาประเทศตามกระแสทุนนิยมทำให้ประเทศไทยอาจมีค่าใช้จ่ายเพื่อรักษาผู้ป่วยเบาหวานสูงถึงปีละ ๓.๕-๘.๔ หมื่นล้านบาท แต่หากรวมค่ารักษาโรคแทรกซ้อน ค่าใช้จ่ายเดินทางไปรับการรักษาที่โรงพยาบาล และค่าเสียโอกาสอื่นๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 337 พฤษภาคม 2550
    คลินิกจิตแพทย์ป้าหมอโรคแม่ทำ"ถ้าแม่ไม่เลิกจู้จี้ ก้อยจะหนีออกจากบ้านไปมีผัว!!! " "น้องก้อยตะโกนเถียงดิฉันจนเสียงดังลั่นบ้าน ดิฉันพูดกับเขาเท่าไหร่ ก็ไม่ยอมกลับไปเรียนค่ะ ดิฉันทนไม่ไหวแล้วค่ะคุณหมอ ดิฉันคงเลี้ยงลูกดีเกินไปอย่างที่หลายคนพูดจริงๆ"คุณต้อยคุณแม่วัยกลางคนพูดทั้งน้ำตาให้ป้าหมอ ฟัง "น้องก้อยเป็นเด็กที่ไม่ค่อยได้ความ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 337 พฤษภาคม 2550
    มาเป็นหมอกันเถิดนพ.สันต์ หัตถีรัตน์แน่นอก นอนไม่หลับ...เพราะห่วงหลานตัวอย่างผู้ป่วยรายที่ ๔๙ เช้าวันหนึ่ง ในการตรวจเยี่ยมผู้ป่วยที่ห้องฉุกเฉิน แพทย์ประจำบ้านได้พา ไปดูผู้ป่วยรายหนึ่งที่กำลังนอนกระสับกระส่าย หายใจเร็วเป็นพักๆ หน้านิ่วคิ้วขมวด ...