โรคเรื้อรัง

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 287 มีนาคม 2546
    ความดันเลือดสูง* ชื่อภาษาไทย: ความดันเลือดสูง ความดันโลหิตสูง ความดันสูง*ชื่อภาษาอังกฤษ: Hyper tension (ไฮเพอร์เทนชั่น), High blood pressure (ไฮบลัดเพรสเช่อร์)*สาเหตุ: โรคนี้แบ่งเป็น ๒ ชนิด ซึ่งมีสาเหตุต่างกัน ดังนี้๑.ความดันเลือดสูงชนิดปฐมภูมิ (primary hypertension) หมายถึง ความดันเลือดสูงที่ไม่พบโรค ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 285 มกราคม 2546
    ดิฉันเป็นผู้หนึ่งที่เป็นโรคภูมิแพ้ และเข้าใจว่าเป็นหืดด้วย เพราะเคยหายใจขัดข้อง เคยหายใจมีเสียงวี้ดบ้างบางครั้ง ได้พบหมอที่ชมรมโรคหืดฯ ให้ยาพ่นมา ๒ ชนิด คือ ยาต้านการอักเสบ (หลอดสีแดง) กับยาพ่นขยายหลอดลมแก้หายใจขัดข้องฉับพลัน (หลอดสีฟ้า)ดิฉันปฏิบัติตามหมอสั่งในการใช้ยาอย่างเคร่งครัด เป็นภาระอย่างหนึ่งในการเดินทางไปไหนๆ ที่ จะต้องมียาทั้ง ๒ ติดตัวไปด้วย อย่าลืมเป็นอันขาด ถ้าลืมยานี้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 285 มกราคม 2546
    ยากลุ่มนี้ คือ" ยาปฏิชีวนะหรือยาต้านจุลชีพ "ซึ่งใช้ในการรักษาโรคติดเชื้อที่ทางเดินหายใจส่วนบน ซึ่งจะเรียกให้เข้าใจง่ายๆ คือ " ยาต้านแบคทีเรีย "สาเหตุของโรคติดเชื้อที่ทางเดินหายใจส่วนบนโรคติดเชื้อที่ทางเดินหายใจส่วนบน แบ่งเป็นหลายโรค คือ ไข้หวัด (common cold) จมูกอักเสบ (bacterial rhinitis) คอหอยอักเสบ (pharyngitis) ทอนซิลอักเสบ (tonsillitis) ฝีรอบทอนซิล (peritonsillar ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 285 มกราคม 2546
    ...ในบรรดารสเปรี้ยว หวาน มัน เค็ม รสหวานดูจะเป็นรสชาติที่ผู้คนติดใจกันมากที่สุด ตั้งแต่ลูกเล็กเด็กแดงไปจนกระทั่งผู้เฒ่าผู้แก่ ความหวานก็นับเป็นสุนทรียรสของชีวิตอย่างหนึ่ง ถ้าเราสามารถควบคุมการกินให้อยู่ในปริมาณที่พอดีได้แต่ในความเป็นจริง คนส่วนใหญ่มักหลง เพลิดเพลินกับความหวานนานารูปแบบ เกินความต้องการของร่างกาย จนเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิดโรคและปัญหาสุขภาพตามมามากมาย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 285 มกราคม 2546
    ในความหมายของแพทย์จีนมีศัพท์และความเข้าใจที่ไม่ตรงกันหลายเรื่องเวลาหมอจีนอธิบายโรคให้กับคนไข้ฟัง รู้สึกทะแม่งๆ แปลกๆ ดี ยิ่งถ้าคนไข้หรือแพทย์ ปัจจุบันที่ไม่เข้าใจความหมายอาจตีความหมาย ผิดๆ ทำให้ยิ่งไปกันใหญ่ เล่นให้คนไข้ปั่นป่วน ไม่น้อย ตัวอย่างเช่น- เลือดของหัวใจไม่พอ ทำให้ใจสั่น นอนไม่หลับ ฝันมาก ลืมง่าย ความคิดเชื่องช้า ไม่มีชีวิตชีวา- ไฟหัวใจร้อนสู่เบื้องบน ทำให้ปลายลิ้นแดงอักเสบ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 283 พฤศจิกายน 2545
    เพื่อรับมือกับโรคหัวใจและหลอดเลือด (ตอนจบ)ระบบบริการสุขภาพตราบเท่าที่ยังมีคนป่วยเจ็บ ระบบบริการสุขภาพ ย่อมมีความจำเป็นและคงต้องปรับเปลี่ยนไปตามยุคสมัย ระบบบริการสุขภาพในวันนี้เป็นมรดกของ ยุคโรคติดต่อ เป็นระบบบริการสุขภาพแบบตั้งรับเน้นการซ่อมสุขภาพ ถนัดในการใช้เทคโนโลยี ถนัด ในการตัดสินใจแทนคนไข้ และถนัดในการดูแลปัญหา เฉียบพลันมากกว่าปัญหาเรื้อรัง ครึ่งหนึ่งของคนไทย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 283 พฤศจิกายน 2545
    ขิง : ยาดีที่โลกรู้จักขิง มหาโอสถอันเก่าแก่ที่เอเชียโบราณรู้จักดีขิง (ginger) จัดว่าเป็นสมุนไพรและเครื่องเทศที่มีความสำคัญ และเก่าแก่ชนิดหนึ่งของโลก มีหลักฐานการใช้ยาวนานกว่า๕,๐๐๐ ปี มีการใช้อย่างกว้างขวางในประเทศอินเดียและจีนสมัยโบราณ ซึ่งก็ยังไม่มีใครชี้ชัดว่าระหว่าง ๒ ประเทศนี้ใครใช้มาก่อนใคร มีบันทึกของหมอยาจีนชื่อเฉินหนงประมาณ ๓,๐๐๐ ปีก่อนคริสต์กาล ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 283 พฤศจิกายน 2545
    สำราญ/น่าน : ผู้ถามเนื่องจากข้าพเจ้ามีอาการปวดร้าวลงขาเดินไม่ได้ไปหาหมอ หมอบอกว่าหมอนรองกระดูกแตก ได้ผ่าตัดรักษาเมื่อวันที่ ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๔๕ หลังผ่าตัดสามารถเดิน ได้แต่ยังรู้สึกชาบริเวณฝ่าเท้าทั้ง ๒ ข้าง แต่การขับถ่ายปัสสาวะไม่สามารถควบคุมได้ ต้องใส่สายตลอดเวลา ส่วนการขับถ่ายอุจจาระพอได้ แต่ใช้เวลานาน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 282 ตุลาคม 2545
    เพื่อรับมือกับโรคหัวใจและหลอดเลือด (๒)พฤติกรรมเสี่ยงของโรคหัวใจและหลอดเลือดความรู้จากประเทศอุตสาหกรรมยืนยันตรงกันว่าพฤติกรรมเสี่ยงเป็นเหตุสำคัญของการเกิดโรคหัวใจ และหลอดเลือดส่วนใหญ่พฤติกรรมเสี่ยงที่สำคัญมาก ๓ ประการได้แก่๑.การสูบบุหรี่ ผู้ชายไทยทุกวันนี้เกือบครึ่งหนึ่งสูบบุหรี่ ในขณะที่ผู้หญิงเพียงร้อยละ ๓ เท่านั้นที่สูบ แนวโน้มของพฤติกรรมสูบบุหรี่ในคนไทยมีทิศ ทางลดลงอย่างต่อเนื่อง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 281 กันยายน 2545
    เพื่อรับมือกับโรคหัวใจและหลอดเลือด (๑)"ด้วยความรู้ในปัจจุบัน เราสามารถสร้างโลกที่ปราศจากการคุกคามจากโรคหัวใจและหลอดเลือด ในโลกเช่นนั้นการป้องกันเกิดขึ้นนับแต่วันแรกเริ่มของชีวิตทุกคนจะมีชีวิตที่เปี่ยมด้วยสุขภาพ ได้หายใจอากาศที่ปลอดควันบุหรี่ได้กินอาหารที่ถูกหลักอนามัย หมั่นออกกำลังกายสม่ำเสมอได้อาศัยและทำงานในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ" ...