พฤติกรรมอันตราย (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)

  • วารสารคลินิก 266 กุมภาพันธ์ 2550
    ในปัจจุบันทั่วโลกมีการบริโภคสุราอย่างกว้างขวาง เฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกาประเทศเดียวประมาณการว่ามีผู้ใหญ่ที่บริโภคสุราสูงถึงร้อยละ 50 และมีประชากรประมาณ 15 ถึง 20 ล้านคนที่ป่วยเป็นโรคพิษสุราเรื้อรัง (alcoholism). นอกจากนี้ร้อยละ 20-40 ของผู้ป่วยที่เข้ารักษาตัวในโรงพยาบาลมีปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการบริโภคสุรา พบว่าแอลกอฮอล์สามารถซึมผ่านเนื้อเยื่อและอวัยวะต่างๆ ...
  • วารสารคลินิก 266 กุมภาพันธ์ 2550
    ลุงสมาน ชายไทยอายุ 56 ปี มาพบคุณหมอวรวุฒิแต่เช้า ด้วยอาการเมื่อยๆ รู้สึกเหมือนไม่มีแรง. ยังไม่ทันจะได้ซักประวัติกันเลย คุณหมอวรวุฒิก็แทบจะวินิจฉัยได้แล้วว่าลุงสมานเป็นอะไร เพราะอาการที่เดินโซซัดโซเซของลุง กับกลิ่นเหล้าที่เหม็นคละคลุ้งที่โชยมา บอกให้รู้ว่าคุณลุงแกดื่มเหล้ามาจนได้ที่'เป็นยังไงล่ะลุง" คุณหมอเบือนหน้าหนี เพราะเริ่มจะรู้สึกเมาตามไปด้วย"ไม่มีแรงครับ" ...
  • วารสารคลินิก 263 พฤศจิกายน 2549
    หลังจากที่ได้นำเสนอบทความเกี่ยวกับโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมมาหลายตอน ฉบับนี้ ”อาชีวเวชศาสตร์ปริทัศน์"  ก็จะได้กล่าวถึงโรคกลุ่มสุดท้ายในบรรดา 10 กลุ่มโรค ที่สำนักระบาดวิทยากรมควบคุมโรค ได้กำหนดให้มีการ " รายงาน"  โรคใน กรณีที่แพทย์หรือบุคลากรสาธารณสุขตรวจพบหรือสงสัย นั่นคือ ...
  • วารสารคลินิก 263 พฤศจิกายน 2549
    6 ปีที่ผ่านมา การรณรงค์เมาไม่ขับได้ปลุกกระแสความตื่นตัวต่อปัญหาอุบัติเหตุอันเนื่องจากการดื่มสุรา แต่ยังไม่ปรากฏหลักฐานสนับสนุนว่า การรณรงค์เมาไม่ขับสามารถลดความสูญเสียจากปัญหานี้ได้ชัดเจน หากอาศัยระดับแอลกอฮอลในผู้ขับขี่ที่บาดเจ็บเข้าห้องฉุกเฉิน (ไม่ใช่อาศัยจมูกหรือประสาทสัมผัสอื่นๆของบุคลากรในห้องฉุกเฉิน เพื่อแยกแยะว่าดื่มหรือไม่ดื่ม อย่างที่มักอ้างกันในรายงานของหน่วยงานต่างๆ) ...
  • วารสารคลินิก 262 ตุลาคม 2549
    กรณีผู้ป่วยเมื่อ 8 ปีที่แล้ว ผู้ป่วยเปิดปี๊บหน่อไม้มาแล้วทดลองกินเอง เห็นว่าไม่มีอะไรเกิดขึ้น จึงนำหน่อไม้ไปแจกและขาย ซึ่งผู้ที่เปิดปี๊บคือหนึ่งในผู้ซึ่งเสียชีวิตจากพิษ botulinumครั้งนี้พิษ botulinum เกิดจากเชื้อ Clostridium botulinum ซึ่งเป็น anaerobe. ในภาวะที่ไม่สามารถเจริญเติบโตได้ก็จะสร้างสปอร์ ...
  • วารสารคลินิก 262 ตุลาคม 2549
    "หมอคะ คนไข้กินไม่ได้เลย ผอมลงเรื่อยๆ หมอช่วยใส่ท่ออาหารให้แกด้วยเถอะค่ะ"  นี่คงเป็นคำขอร้องที่แพทย์หลายคนไม่อยากได้ยิน โดยเฉพาะในผู้ป่วยด้วยโรคระยะสุดท้าย แต่เพราะแพทย์ไม่เคยได้เรียนรู้ที่มาที่ไปของการเกิดอาการเหล่านี้ จึงมีหลายคนที่เข้าใจผิดและทำตามที่ญาติขอร้องไปก่อน และไม่สามารถหยุดการให้อาหารทางท่ออาหารหรือทางหลอดเลือดได้ในที่สุด ...
  • วารสารคลินิก 259 กรกฎาคม 2549
    ในปี พ.ศ. 2523 กองระบาดวิทยาได้รับรายงานโดยโทรสารจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดราชบุรีว่ามีการระบาดของโรคผิวหนังเป็นแผล ในชาวบ้านจำนวนมาก ขอให้ส่งนักระบาดวิทยาไปช่วยสอบสวนหาสาเหตุของโรค และแนะนำวิธีการควบคุม/ป้องกันการระบาดของโรค. ความจริงแล้วก่อนหน้านั้น 1 เดือน ได้มีการสอบสวนการระบาดของโรคแผลที่มีลักษณะเรื้อรังแล้วครั้งหนึ่งที่จังหวัดนครปฐม ชาวบ้านเรียกแผลชนิดนี้ว่า " แผลปากหมู " ...
  • วารสารคลินิก 256 เมษายน 2549
    นับแต่เริ่มการพัฒนาคุณภาพโดยกระบวนการ Hospital Accreditation ทำให้คำว่าการดูแลผู้ป่วยแบบสหสาขาวิชาชีพเข้ามาสู่โรงพยาบาลต่างๆ ที่เข้าร่วมกิจกรรม โดยมีการจัดคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพคลินิกบริการหรือทีมนำทางคลินิก (clinical lead team) แต่ส่วนใหญ่ผู้ปฏิบัติมักเรียกกันว่าทีม PCT มากกว่า มาจากคำว่า patient care team เป็นทีมดูแลผู้ป่วย. อาจแบ่งออกเป็นตามสาขาสูตินรีเวช ศัลยกรรม ...
  • วารสารคลินิก 255 มีนาคม 2549
    กลางเดือนมกราคมที่ผ่านมา ผู้เขียนได้รับโอกาสจากสมาคมอุรเวชช์แห่งประเทศไทยให้ไปบรรยายหัวข้อ " โรคปอดจากสิ่งแวดล้อม " ในระหว่างการประชุมวิชาการประจำปี 2548 ให้กับแพทย์เฉพาะทางสาขาโรคระบบทางเดินหายใจที่เรานิยมเรียกกันว่า " chest man " ทั้งนี้ท่านเลขาธิการสมาคมฯ (รองศาสตราจารย์ นายแพทย์นิธิพัฒน เจียรกุล) ได้กรุณาแนะแนวทางว่า ...
  • วารสารคลินิก 254 กุมภาพันธ์ 2549
    1. การระบาดใหญ่ของไข้หวัดใหญ่แตกต่างจากโรคไข้หวัดนกไข้หวัดนกเป็นกลุ่มของไวรัสไข้หวัดใหญ่ที่เดิม  ทําให้เจ็บป่วยเฉพาะในนก นานๆ ครั้งจะพบการติดเชื้อในสัตว์ตระกูลอื่น เช่น หมู และคน. ไวรัสไข้หวัดนกส่วนใหญ่จะไม่ทําให้เกิดการติดเชื้อในคน. การระบาดใหญ่ของไข้หวัดใหญ่เกิดขึ้นเมื่อมีไวรัสสายพันธุ์ใหม่ที่ยังไม่เคยทําให้เกิดโรคในคนขึ้น ดังนั้นไวรัส H5N1 ...