ยาและวิธีใช้

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 93 มกราคม 2530
    คลอแรมเฟนิคอลเมื่อกล่าวถึงยาปฏิชีวนะที่มีฤทธิ์กว้างขวางเมื่อ 60 กว่าปีก่อน นอกจากเตตราซัยคลีนแล้ว คู่แข่งที่ระบือนามอีกขนานหนึ่งก็คือ คลอแรมเฟนิคอลยาทั้ง 2 ขนานนี้มีอายุกำเนิดไล่เลี่ยกันและโด่งดังมาพร้อมๆกัน แต่ความนิยมคลอแรมเฟนิคอลต้องมีอันลดลงไปก่อนหน้าเตตราซัยคลีน เพราะความที่มันทำให้เกิดโรคไขกระดูกฝ่อและกลุ่มอาการตัวสีเทา (Gray Syndrome) อันน่าสะพรึงกลัวใครก็ตามที่เป็นโรคไขกระดูกฝ่อ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 92 ธันวาคม 2529
    อาการคันพูดถึงอาการคันเชื่อแน่ว่าทุกคนเคยเป็นกันมาแล้วทั้งนั้นบางคนเพราะโดนมดกัด ยุงกัด หรือพวกหิดเหาและแมลงอื่นๆ ล้วนแต่ทำให้เกิดอาการคันได้ทั้งสิ้น และจะมีอาการคันมากน้อยแตกต่างกันไป บางคนก็รู้สึกคันอยู่ตลอดเวลาโดยไม่ทราบสาเหตุ และหาตำแหน่งที่จะเกายังไม่เจอ ได้แต่บอกว่า คันๆ ๆ ๆอาการคันเกิดจากหลายสาเหตุ ที่เกิดจากการถูกแมลงกัดต่อยหรือถูกต้นไม้ใบหญ้าแล้วมีอาการคัน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 92 ธันวาคม 2529
    เตตราซัยคลีนที่คลินิกทันตกรรมแห่งหนึ่ง คุณโฉมเฉลาได้พาลูกสาววัย 8 ปีมาตรวจฟันกับคุณหมอวิฑูรย์คุณโฉมเฉลา : คุณหมอคะ ลูกสาวดิฉันใช้ยาสีฟันคองเขกแปรงฟันทุกวัน เช้า-เย็น ทำไมฟันยังดำคล้ำเลยคะคุณหมอวิฑูรย์ : ไหนขอหมอตรวจดูหน่อยซิครับ อ๋อ! ฟันดำแบบนี้เป็นชนิดดำเข้าเนื้อแล้วล่ะครับ เกิดจากการที่ยาจำพวกเตตราซัยคลีนไปจับอยู่ในเนื้อฟัน อย่างนี้ทำอย่างไรก็หายคล้ำไม่ได้หรอกครับ แสดงว่าในระยะ 7 ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 91 พฤศจิกายน 2529
    หมอไทยทำชื่อผลิตวิตามินเคชนิดหยดสำเร็จแพทย์ไทยทำชื่อเสียงไปทั่วโลก ค้นพบวิธีผลิตวิตามินเคชนิดหยดเป็นผลสำเร็จ แก้ปัญหาเด็กแรกเกิดเป็นโรคเลือดออกในสมอง ต่างประเทศยอมรับนำไปเผยแพร่ทั่วโลกพญ.ภัทรพร อิศรางกูร ณ อยุธยา รองคณบดีคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล และเป็นผู้อำนวยการองค์การฮีโมพีเลียแห่งโลก ภาคพื้นเอเชียอาคเนย์ แสดงว่าจากการค้นคว้าถึง 20 ปี ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 91 พฤศจิกายน 2529
    อีริโธรมัยซินในฉบับที่ 89 และ 90 ได้แนะนำยาเพนิซิลลินและพรรคพวก (แอมพิซิลลิน, อะมอกซีซิลลิน) ไปแล้ว ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าเป็นพระเอกหรือตัวหลักในการรักษาโรคต่างๆที่กล่าวไว้ทีนี้ก็จะขอแนะนำพระรอง ซึ่งจะออกมาเล่นสลับฉาก กรณีที่คนดูเบื่อพระเอก กล่าวคือ ในกรณีผู้ใช้ยาแพ้ยาเพนิซิลลิน, แอมพิซิลลิน, อะมอกซีซิลลิน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 90 ตุลาคม 2529
    แอมพิซิลลิน/อะมอกซีซิลลินยาแอมพิซิลลิน และ อะมอกซีซิลลิน 2 ชนิดนี้ เป็นยาปฏิชีวนะกลุ่มเดียวกับเพนิซิลลิน แต่ได้รับการดัดแปลงสูตรโครงสร้าง ทำให้มีฤทธิ์ทำลายเชื้อแบคทีเรียกว้างขวางกว่าเพนิซิลลิน⇒แอมพิซิลลินแพทย์นิยมใช้แอมพิซิลลินเพื่อรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียของระบบทางเดินปัสสาวะ ระบบทางเดินหายใจ ระบบทางเดินอาหาร โรคช่องหูส่วนกลางติดเชื้อ โรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ โรค 2 ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 90 ตุลาคม 2529
    วัคซีน / เซรุ่ม“เมื่อลูกของคุณอายุได้สองเดือน ควรพาไปฉีดวัคซีนป้องกันโรคไอกรน คอตีบ บาดทะยัก”“เมื่อถูกตะปูตำ ถ้ายังไม่ฉีดวัคซีนมาก่อน ควรรักษาด้วยเซรุ่มกันบาดทะยัก”คุณผู้อ่านอาจคุ้นหูกับคำแนะนำเหล่านี้กันมาบ้างแล้ว แต่บางครั้งก็อาจรู้สึกสับสนกับความหมายของคำว่า “วัคซีน” และ “เซรุ่ม” กันบ้างก็ได้ฉบับนี้เรามาคุยกันถึงคำ 2 คำนี้ ดีไหมครับ!วัคซีน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 89 กันยายน 2529
    อังกฤษห้ามใช้แอสไพรินในเด็กอายุต่ำกว่า 12 ปีจากการศึกษาพบว่า เด็กอายุต่ำกว่า 12 ปีที่มีอาการของโรคเรย์ซินโดรม มีความสัมพันธ์กับการใช้ยาแอสไพรินในเด็ก *********************************************************************************************เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2529 นี้ คณะกรรมการติดตามความปลอดภัยเกี่ยวกับการใช้ยาแห่งอังกฤษ ได้ส่งจดหมายถึงเภสัชกร แพทย์และบุคลากรสาธารณสุขต่างๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 89 กันยายน 2529
    ยาเพนิซิลลินเมื่อ 26-27 ปีที่แล้วมา ได้มีการค้นพบยาปฏิชีวนะตัวแรกของโลกคือยา “เพนิซิลลิน” โดยท่านเซอร์อเล็กซานเดอร์ เฟลมมิ่งนับจากนั้นเป็นต้นมาโฉมหน้าของการรักษาโรคติดเชื้อก็ได้เปลี่ยนไปอย่างมาก ความสำเร็จในการรักษาโรคติดเชื้อเพิ่มขึ้นทันตาเห็น จนใครต่อใครในสมัย 10 ปีแรกที่เริ่มมีเพนิซิลลินใช้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 88 สิงหาคม 2529
    ยาต้านจุลชีพ“หมอครับ ผมมีไข้และเจ็บคอมากมา 3 วันแล้วครับ”“มีอาการไอ มีน้ำมูกหรือเปล่า”“ไม่มีครับ เวลากลืนน้ำลายหรืออาหารนี่ยิ่งเจ็บมาเลย”“ไหน ขอตรวจหน่อนะครับ...อ้าปากกว้างๆครับ...เอาล่ะครับ เรียบร้อย”“ผมเป็นอะไรครับ? คุณหมอ”“คุณเป็นทอนซิลอักเสบ...นี่ครับ ยาเพนิซิลลิน คุณกินตามที่เขียนบนซองยานะครับ อ้อ...ต้องกินให้ครบ 10 ...