โรคผิวหนัง (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)
-
วารสารคลินิก
297
กันยายน 2552
(โรคจิตหลงผิด (delusional disorder) เป็นความผิดปกติทางจิตใจที่มีอาการหลงผิดหนึ่ง หรือหลายอย่าง แต่ไม่มีอาการ และอาการแสดงของโรคทางจิตเวชอื่นๆ ร่วมด้วย เช่น schizophrenia และไม่มีอาการประสาทหลอน (hallucinations) ที่ชัดเจน. อย่างไรก็ตาม ผู้ป่วยที่มีอาการหลงผิดบางรายอาจพบอาการประสาทหลอนทางสัมผัส (tactile hallucinations) หรือประสาทหลอนทางกลิ่น (olfactory hallucinations) ...
-
วารสารคลินิก
289
มกราคม 2552
โรคกลีบกุหลาบ (pityriasis rosea, PR) เป็นโรคผิวหนังที่มีผื่นลักษณะเฉพาะ และมีอาการเฉียบพลันมีการบรรยายถึงโรคนี้มาเกือบ 150 ปีแล้ว เริ่มแรกจะมีผื่นปฐมภูมิเรียกว่า ผื่นแจ้งข่าว (herald patch)ต่อมาอีก 1-2 สัปดาห์จะมีผื่นลักษณะเฉพาะกระจายทั่วไป. ผื่นเหล่านี้จะเป็นอยู่นานประมาณ 2-6 สัปดาห์ คำว่า pityriasis rosea มาจากลักษณะของผื่น คือ pityriasis หมายถึงขุยบางๆ (fine scales) และ rosea แปลว่า ...
-
วารสารคลินิก
288
ธันวาคม 2551
"ภาพหนึ่งภาพอาจมีความหมายมากกว่าอักษรนับร้อยนับพันคำ การเรียนรู้จากภาพจริงเกี่ยวกับผู้ป่วย คือที่มาของ "ปริศนาคลินิก" ซึ่งบรรจุเนื้อหาอันเป็นปริศนาที่เลือกสรรอย่างบรรจงจากวิทยากรเพื่อกระตุ้นการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน"จิโรจ สินธวานนท์ พ.บ.ผู้อำนวยการสถาบันโรคผิวหนัง, กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ...
-
การแพทย์ทางเลือก ในเวชปฏิบัติโรคผิวหนัง : ตอนที่ 1 (Alternative Medicine in Dermatological Practice)
การแพทย์ทางเลือก (alternative medicine) หมายถึง การรักษาที่นอกเหนือไปจากการรักษาหลักที่เป็นที่ยอมรับกันทั่วไป (conventional medicine) การแพทย์ทางเลือกอาจเริ่มมาจากความเชื่อ, ปรัชญา, การสังเกต และบางครั้งยังไม่ได้ผ่านการทดลองพิสูจน์ตามหลักการทางวิทยาศาสตร์. อย่างไรก็ตาม การรักษาทางการแพทย์ทางเลือกและสมุนไพรใดๆ ที่นำมาใช้ เมื่อมีการพิสูจน์ว่าได้ผลจริงและปลอดภัยตามหลักวิทยาศาสตร์ ... -
วารสารคลินิก
286
ตุลาคม 2551
"ภาพหนึ่งภาพอาจมีความหมายมากกว่าอักษรนับร้อยนับพันคำ การเรียนรู้จากภาพจริงเกี่ยวกับผู้ป่วย คือที่มาของ "ปริศนาคลินิก" ซึ่งบรรจุเนื้อหาอันเป็นปริศนาที่เลือกสรรอย่างบรรจงจากวิทยากรเพื่อกระตุ้นการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน"จิโรจ สินธวานนท์ พ.บ.ผู้อำนวยการสถาบันโรคผิวหนัง, กรมการแพทย์ ...
-
วารสารคลินิก
287
ตุลาคม 2551
ตอนที่แล้วได้กล่าวถึงโรคผิวหนังที่มีการนำสมุนไพร และการแพทย์ทางเลือกมาใช้รักษา ในตอนนี้จะกล่าวถึงสมุนไพรต่างประเทศที่ใช้ในรูปยาทา, สมุนไพรไทยที่มีคุณสมบัติในการรักษาโรคผิวหนัง, งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการใช้สมุนไพรไทยในการรักษาโรคผิวหนัง และข้อแทรกซ้อนจากการใช้สมุนไพร. สมุนไพรต่างประเทศที่ใช้ในรูปยาทารักษาโรคผิวหนัง เช่น Arnica ที่มาจากดอกแห้งของต้น Arnica montana ...
-
วารสารคลินิก
285
กันยายน 2551
โรคฝ้าในเวชปฏิบัติ (Melasma in Clinical Practice) ตอนจบ : วิธีทางกายภาพที่ใช้รักษาโรคฝ้า (Physical Procedures for Treating Melasma)นอกจากการใช้ยาทารักษาฝ้าที่มีทั้งยาสูตรหลักที่ใช้กันมานาน และยาหรือครีมทารักษาฝ้า ด้วยสารใหม่ๆ และสมุนไพร รวมทั้งการกินยาหรือสารสกัดธรรมชาติบางอย่างรักษาฝ้าตามที่ได้กล่าวไปแล้ว ยังมีวิธีทางกายภาพที่ใช้รักษาโรคฝ้า เช่น1. การลอกหน้าด้วยสารเคมี (chemical peeling) ...
-
วารสารคลินิก
285
กันยายน 2551
"ภาพหนึ่งภาพอาจมีความหมายมากกว่าอักษรนับร้อยนับพันคำ การเรียนรู้จากภาพจริงเกี่ยวกับผู้ป่วย คือที่มาของ " ปริศนาคลินิก" ซึ่งบรรจุเนื้อหาอันเป็นปริศนาที่เลือกสรรอย่างบรรจงจากวิทยากรเพื่อกระตุ้นการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน"วลัยอร ปรัชญพฤทธิ์ พ.บ. กลุ่มงานไบโอเอ็นจิเนียริ่ง สถาบันโรคผิวหนัง ...
-
วารสารคลินิก
284
สิงหาคม 2551
โรคฝ้าในเวชปฏิบัติ (Melasma in Clinical Practice) ตอนที่ 3 : ยาและเวชสำอางรักษาฝ้าชนิดใหม่ปัจจุบันมีการคิดค้นยาและเวชสำอางรักษาฝ้าใหม่ๆ โดยหวังจะรักษาฝ้าให้ได้ผลดี และมี ผลข้างเคียงน้อยที่สุด. อย่างไรก็ตาม ส่วนใหญ่ยาและเวชสำอางรักษาฝ้าเหล่านี้ ผลการรักษายังต้องติดตามต่อไป. ยาและเวชสำอางรักษาฝ้าชนิดใหม่ เช่นกรดโคจิก (Kojic acid) สูตรเคมี คือ 5-hydroxy-4-pyran-4-one-2-methyl ...
-
วารสารคลินิก
284
สิงหาคม 2551
"ภาพหนึ่งภาพอาจมีความหมายมากกว่าอักษรนับร้อยนับพันคำ การเรียนรู้จากภาพจริงเกี่ยวกับผู้ป่วย คือที่มาของ "ปริศนาคลินิก" ซึ่งบรรจุเนื้อหาอันเป็นปริศนาที่เลือกสรรอย่างบรรจงจากวิทยากรเพื่อกระตุ้นการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน"จิโรจ สินธวานนท์ พ.บ.ผู้อำนวยการสถาบันโรคผิวหนัง, กรมการแพทย์ ...