มะเร็ง

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 91 พฤศจิกายน 2529
    ซีเอ / แคนเซอร์ / คาร์ซิโนมา“คนไข้มีอาการอ่อนเพลีย น้ำหนักลดฮวบฮาบ มักมีสาเหตุจากอะไร?” อาจารย์ไล่ภูมินักศึกษาแพทย์“ทีบีค่ะ” นักศึกษาคนที่ 1 ตอบ“โรคคอพอกเป็นพิษครับ” คนที่ 2 ต่อ“ซีเอของตับครับ” คนที่ 3 ต่อ“เบาหวานค่ะ” คนที่ 4 ต่อถ้าจะไล่ไปเรื่อยๆคงมีสาเหตุนับสิบๆชนิด ข้างบนนี้มีภาษาหมอที่ไม่ใช่คำไทยๆอยู่ 2 คำ ได้แก่ ทีบี และ ซีเอทีบี ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 89 กันยายน 2529
    ตรวจภายใน / พีวี / พีอาร์“คนไข้รายนี้มีอาการเลือดออกทางช่องคลอดผิดปกติ สงสัยจะเป็นเนื้องอกที่มดลูก เดี๋ยวผมจะทำพีวี คุณช่วยเตรียมคนไข้ให้ด้วย” หมอสั่งพยาบาลช่วย หลังจากฟังคำบอกเล่าของคนไข้สาวที่ห้องตรวจนรีเวชกรรมส่วนที่ห้องตรวจศัลยกรรม แพทย์อาวุโสผู้เป็นอาจารย์ถามนักศึกษาแพทย์เพื่อสอบความรู้ของลูกศิษย์ว่า “วิธีตรวจมะเร็งทวารหนักที่ง่าย ปลอดภัยและราคาถูก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 80 ธันวาคม 2528
    มะเร็งจากสาเหตุต่างๆ ตั้งแต่เช้า ออกกำลังกายให้สดชื่น พร้อมเปิดวิทยุ (เมดอินไทยแลนด์) ไปที่คลื่น 864 กิโลเฮิรตซ์ สถานี ปชส.7 รายการ “สุขภาพประจำวัน” เวลา 5.00 น.-5.15 น. ทุกวันจันทร์ถึงเสาร์ และรายการ “หมอชาวบ้าน”เวลา 4.30-5.00 น.ทุกวันเสาร์ครั้งที่แล้ว “คุยกันทางวิทยุ” ได้เสนอเรื่อง “อะฟลาทอกซิน” ซึ่งเป็นตัวการหนึ่งที่ทำให้เกิดมะเร็ง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 71 มีนาคม 2528
    การสูบบุหรี่อาจเป็นอันตรายอย่างยิ่งต่อสุขภาพของท่านควันยาสูบมีสารเคมีที่เป็นอันตรายอยู่ 3 ชนิดด้วยกันคือ ทาร์ (ถ่าน) นิโคติน และคาร์บอนมอนนอกไซด์ ทาร์ คือส่วนผสมของสารเข้มข้นหลายประเภท ที่เกาะตัวกันเหนียวมีลักษณะคล้ายน้ำเชื่อมอยู่ในปอด นิโคตินคือยาเสพย์ติดชนิดหนึ่งซึ่งปอดดูดซึมได้ และมีปฏิกิริยาต่อระบบประสาทโดยตรง ส่วนคาร์บอนมอนนอกไซด์ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 63 กรกฎาคม 2527
    ศาสตราจารย์นายแพทย์ณัฐ ภมรประวัติ อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล ผู้ซึ่งเชี่ยวชาญเกี่ยวกับโรคมะเร็งในตับได้เคยพูดคุยกับ หมอชาวบ้าน ปีที่ 3 ฉบับที่ 35 ปี พ.ศ.2524 ถึงเรื่อง “มะเร็งของตับ”เมื่อพูดถึงหนทางของการป้องกันโรคมะเร็งในตับท่านไม่ทราบจะแนะนำอะไร ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 62 มิถุนายน 2527
    ได้มีรายงานพบสารก่อมะเร็ง (eareinogens) ที่สำคัญหลายชนิดในพืชที่เป็นอาหาร เนื่องจากพืชสังเคราะห์ขึ้นเพื่อใช้ป้องกันอันตรายจากเชื้อแบคทีเรีย รา แมลงและสัตว์บางชนิด เช่น ซาโพรล (safrole) ซึ่งมีในน้ำมันอบเชย (sassafras) ใช้ในการแต่งรสเบียร์ พบว่าทำให้เกิดเนื้องอกในสัตว์แทะ สารไฮดราซีน (hydrazine) ที่พบในเห็ดที่เป็นอาหารหลายชนิด เป็นตัวชักนำให้เกิดมะเร็งอย่างรุนแรง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 52 สิงหาคม 2526
    การมีก้อนบวมเกิดขึ้นที่บริเวณซอกคอ ข้างหนึ่งข้างใด ถือว่าเป็นภาวะที่ไม่น่านิ่งนอนใจหากไม่ใช่วัณโรคของต่อมน้ำเหลือง ก็อาจเป็นมะเร็งของต่อมน้ำเหลืองก็ได้ ภาพที่ 1 ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 49 พฤษภาคม 2526
    ตามปกติ คนเราจะมีต่อมน้ำเหลืองกระจายอยู่ทั่วร่างกายโดยเฉพาะตรงซอกคอ ใต้คาง รักแร้ และขาหนีบต่อมน้ำเหลืองที่เป็นปกติจะมีขนาดเล็กมากจนคลำไม่ได้มันจะเรียงตัวอยู่ตามทำน้ำเหลือง คอยสกัดจับและทำลายเชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอม (รวมทั้งเซลล์มะเร็ง) ที่หลุดผ่านเข้ามาคล้ายๆ กับด่านตำรวจที่คอยสกัดจับผู้ร้ายเมื่อจับเชื้อโรคได้ ก็จะเกิดปฏิกิริยาทำให้ต่อมน้ำเหลืองมีการอักเสบ บวมโต เป็นเม็ด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 44 ธันวาคม 2525
    ลายนิ้วมือบอกโรคมะเร็งเต้านมคุณเคยสงสัยไหมคะว่าทำไมตำรวจมักดูลายนิ้วมือให้ผู้ต้องหาหรือพิมพ์ลายนิ้วมือเก็บไว้เป็นหลักฐาน แต่หมอดูกลับดูลายฝ่ามือ ไม่ยักดูลายนิ้วมือ ก็เพราะมีการพบว่า ลายนิ้วมือของคนนั้นคงที่ ไม่เปลี่ยนแปลงตลอดชีวิต จึงเป็นหลักฐานจับผิดจับถูกได้ดีนักแลแต่เส้นลายฝ่ามือจะมีเส้นที่ไม่เปลี่ยนแปลงกับเส้นที่เปลี่ยนแปลงอยู่เรื่อย ๆ ตลอดชีวิต นี่แหละ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 39 กรกฎาคม 2525
    การตรวจร่างกาย ตอนที่ 33 ประชาชนทั่วไปสามารถจะเรียนรู้การเป็นหมอรักษาตนเองและญาติมิตรได้ โดยเฉพาะโรคภัยไข้เจ็บที่พบอยู่บ่อย ๆ ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 70-80 ) จะรักษาได้โดยไม่ต้องใช้เครื่องมือที่พิเศษพิสดารอะไร เรื่อง “มาเป็นหมอกันเถิด” มีเป็นประจำเพื่อชี้แจงวิธีที่จะเรียนรู้ด้วยตนเองจนดูแลรักษาตนเองและผู้อื่นได้”การตรวจตามระบบการตรวจทรวงอก ...