โรคทางจิตเวช เครียด หวาดระแวง

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 208 สิงหาคม 2539
    การไหว้และโอบกอดสานสัมพันธ์ในครอบครัว“ไฮ... สบายดีมั้ย”“ฮัลโล”“เฮ...หวัดดี”ปัจจุบันเราคงเคยได้พบได้เห็นได้สัมผัสกับการทักทายเช่นนี้ในชีวิตประจำวันมากขึ้น จนดูเหมือนว่าคนทันสมัยต้องทักทายเช่นนี้ สิ่งเหล่านี้คงไม่ได้เกิดขึ้นมาโดยไม่มีที่มาที่ไปเราอาจพบการทักทายเช่นนี้ในภาพยนตร์ตะวันตกเป็นประจำหรือชาวต่างชาติที่เราพบเห็นหรือสัมผัส ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 175 พฤศจิกายน 2536
    ไม่ยอมจน จนตาย‘วันนี้บรรยากาศในห้องตรวจดูแปลกๆ’ ป้าหมอคิด ท่าทางที่คุณชลสบตาป้าหมอดูมีพิรุธเหมือนพยายามกลบเกลื่อนอะไรบางอย่าง ทั้งที่ปากก็บอกว่าทุกอย่างขณะนี้ดูลงตัวไปหมด คุณพ่อสุขภาพดีขึ้นทุกวัน ไม่รบกวนเธอเลย ป้าหมอเขียนใบสั่งยาให้ 2 เดือน เท่าที่คุณชลแจ้งไว้ตั้งแต่ตอนตั้งคราวนี้พอคุณชลเงยหน้าขึ้น ป้าหมอเห็นอาการผิดสังเกตได้อย่างชัดเจน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 173 กันยายน 2536
    จิตกับหัวใจ‘จิต’ กับ ‘หัวใจ’ สองคำนี้ ฟังแล้วคล้ายจะเป็นคำเดียวกัน แต่แท้ที่จริงเป็นคนละคำ จิตนั้นเราไม่สามารถมองเห็นได้ เป็นส่วนที่รับรู้ถึงอารมณ์และความรู้สึกต่างๆ ซึ่งก็คือ การทำงานของสมองนั้นเอง ส่วนหัวใจ คือ อวัยวะที่เต้นตุ๊บๆ อยู่ในช่องอก สัมผัสได้โดยการแนบฝ่ามือลงบนหน้าอกด้านซ้าย จะรู้สึกถึงการเต้นของมันได้เป็นอย่างดี ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 172 สิงหาคม 2536
    นอนไม่หลับผู้ใดที่เคยนอนไม่หลับในเวลากลางคืนจะรู้ซึ้งดีถึงความทุกข์ทรมานทั้งทางร่างกายและจิตใจ จะรู้สึกครั่นเนื้อครั่งตัว นอนท่าไหนก็ไม่สบายทั้งๆ ที่ไม่มีไข้ ความรู้สึกนอนไม่หลับช่างก่อความรำคาญทำให้จิตใจหงุดหงิดได้ไม่น้อย ในกรณีที่มีเรื่องทุกข์ร้อนอยู่มักจะนำมาคิดให้เกิดความวิตกกังวล จนบางครั้งคิดว่าประสาทหลอนเนื่องจากได้ยินเสียง แปลกประหลาด หรือเสียงนินทาดังแว่วอยู่ในหู ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 168 เมษายน 2536
    วิธีสยบความเครียด“เปลี่ยนชีวิต” ผ่านไปด้วยรูปแบบที่หลากหลายบนส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตของแต่ละคน จนกระทั่งมีท่านผู้อ่านบ่นเข้ามาว่าทำงานนั่งโต๊ะทั้งวันกำลังวังชาถดถอย ความคล่องตัวลดลง เอ๊ะ หรือที่พูดกันว่า “ไม่ออกกำลังแล้วจะมีกำลังได้อย่าไร ไม่ยืดเส้นยืดสายแล้วจะคล่องแคล่วได้อย่างไร” สงสัยท่าจะจริงเสียแล้ว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 164 ธันวาคม 2535
    การตรวจรักษาอาการ “หลับไม่ปกติ” (ตอนจบ)15. อาการชักขณะหลับ อาจเกิดจากโรคต่างๆ เช่น15.1 โรคลมชักหรือลมบ้าหมู ผู้ป่วยโรคลมชักที่ชักทั้งตัวจะมีเกือบครึ่งหนึ่งที่ชอบชักในขณะหลับ และมีประมาณร้อยละ 10 ที่มีอาการชักเฉพาะเวลาหลับเท่านั้น ผู้ป่วยโรคลมชักจำนวนมากจะหลับไม่ปกติ โดยการหลับในระยะที่ 1 มักจะยาวขึ้น แต่การหลับในระยะที่ 3 และ 4 (การหลับสนิท) จะลดลง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 163 พฤศจิกายน 2535
    การตรวจรักษาอาการ “หลับไม่ปกติ” (ตอนที่ 16)โรคภัยไข้เจ็บบางอย่างก็อาจจะเป็นอุปสรรคทำให้ช่วงเวลาแห่งการนอนหลับพักผ่อนของคุณไม่ราบรื่นนัก ซึ่งจะเป็นผลให้เช้าวันต่อมาของคุณไม่สดชื่นเท่าที่ควร เกิดอาการง่วงเหงาหาวนอนขณะทำงาน ถ้าเป็นเช่นนี้อาจจะถูกเพ่งเล็งจากเจ้านายได้เหมือนกัน เชื่อว่าคุณคงอยากรู้ว่าสาเหตุของอาการเหล่านี้คืออะไร เพื่อจะได้หาทางแก้ไขต่อไป อาการที่ว่านั้น ได้แก่11. ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 162 ตุลาคม 2535
    การตรวจรักษาอาการ “หลับไม่ปกติ” (ตอนที่ 15)นอกจากการปัสสาวะรดที่นอนซึ่งมักเกิดขึ้นในเด็กขณะหลับแล้ว อาการโขกศีรษะ กลิ้งศีรษะ และการโยกตัว ก็เป็นอาการที่อาจจะพบได้ในเด็กเช่นเดียวกัน ซึ่งอาการเหล่านี้บ่อยครั้งทีเดียวได้สร้างความวิตกกังวลให้แก่พ่อแม่ด้วยเหตุที่คิดว่าเป็นความผิดปกติของลูก แต่แท้จริงแล้วอาการเหล่านี้เกิดจากสาเหตุอะไร จะแก้ไขได้อย่างไร ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 161 กันยายน 2535
    สอบเทียบ โอกาสเลือกหรือลวงทางการศึกษา ?“แม่คะ...หนูอยากสอบเทียบ” คือประโยคแรกที่ลูกพูดเมื่อกลับถึงบ้านในวันแรกที่เข้าเรียนชั้นมัธยมหนึ่ง“โอ๊ย...ไม่ต้องสอบหรอกลูก เรียนตามปกติธรรมดานี่แหละ” ดิฉันห้ามลูกทันทีเพราะคิดว่าการสอบเทียบจะเพิ่มภาระทำให้ลูกต้องเรียนหนักขึ้น แถมยังต้องไปเรียนกวดวิชาเพื่อให้สอบได้อีกด้วย เวลาผ่านไปครึ่งปี ลูกบ่นว่า “เพื่อนหนูเขาสอบเทียบม.3 ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 160 สิงหาคม 2535
    การตรวจรักษาอาการ “หลับไม่ปกติ” (ตอนที่ 13)“เสียงกรน” อาจถือได้ว่าเป็นมลภาวะอย่างหนึ่งที่ก่อความรำคาญให้กับเพื่อนร่วมห้องนอนได้ไม่แพ้เสียงรบกวนอื่นๆ ที่ดังเข้ามาจากภายนอก และเพื่อเป็นการแก้ไขบรรยากาศในการนอนจากสภาพที่ดูราวกับนอนอยู่ในเรือกลไฟที่กำลังแล่นด้วยความเร็วสูง ให้เปลี่ยนมาเป็นการนอนที่น่ารื่นรมย์ยิ่งขึ้น ทั้งตัวผู้ที่มีอาการนอนกรนเอง ...