-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
288
เมษายน 2546
ดัดตนแก้เอวขดขัดขาเรื่องของความสุขทางกายและใจ ทุกคนที่เกิดมาในโลกต้องการทั้งนั้น ความสุขทางใจนั้นจะมีได้ก็ ต้องฝึกจิตให้ดี ยังมีคนอีกมากคิดว่าเรื่องฝึกจิตเป็นของพระและผู้สูงอายุหรือประเทศที่ด้อยพัฒนา เมื่อเดือนพฤศจิกายนปีที่แล้วผมได้มีโอกาสไปเมืองฮิโรชิมาประเทศญี่ปุ่น ตอนนั้นอากาศที่นั่นหนาวมาก ผมได้ไปเที่ยวงานเทศกาลที่ศูนย์การค้านั้น เขามีการออกร้านเหมือนงานวัดบ้านเราจะมีร้านแปลกจากของเราคือ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
286
กุมภาพันธ์ 2546
ฉบับนี้ผมขออนุญาตถอดความและเรียบเรียงปาฐกถา ของ ฯพณฯ เสอจิ้ง รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุขแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีนที่ได้แสดงในโอกาสเปิดการสัมมนาวิชาการศาสตร์ การแพทย์แผนจีนแห่งประเทศไทย ครั้งที่ ๑ ระหว่างวันที่ ๑๘-๑๙ ธันวาคม ๒๕๔๕ เพราะคิดว่าจะเป็นประโยชน์กับหลายๆ ท่านที่กำลังติดตามแนวโน้มของศาสตร์แพทย์แผนจีนในประเทศไทยและในระดับสากล ถ้าตกหล่นบกพร่องประการใด ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
286
กุมภาพันธ์ 2546
เมื่อไม่นานมานี้มีหมอนวดตาบอด ซึ่งเป็นพนักงานนวดที่สถานพยาบาลของผม เขาบอกผมว่าปวดท้องมาก ตอนนั้นเป็นเวลาประมาณ ๑ ทุ่มครึ่ง ผมได้บอกลูกสาวของผมที่เป็นผู้จัดการของสถานพยาบาลให้จ่ายเงินปันผล ประจำวันก่อนเวลา เพราะกำหนดเวลาเลิก ๒ ทุ่มถึงจะจ่าย ลูกสาวผมบอกว่าจ่ายแล้วแต่เขายังกลับไปไม่ได้เพราะปวดท้องจนตัวงอ เขาบอกผมว่ากินยาแก้ปวดท้องมาแล้วก็ไม่หาย ผมก็เลยให้เขานอน ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
285
มกราคม 2546
ในความหมายของแพทย์จีนมีศัพท์และความเข้าใจที่ไม่ตรงกันหลายเรื่องเวลาหมอจีนอธิบายโรคให้กับคนไข้ฟัง รู้สึกทะแม่งๆ แปลกๆ ดี ยิ่งถ้าคนไข้หรือแพทย์ ปัจจุบันที่ไม่เข้าใจความหมายอาจตีความหมาย ผิดๆ ทำให้ยิ่งไปกันใหญ่ เล่นให้คนไข้ปั่นป่วน ไม่น้อย ตัวอย่างเช่น- เลือดของหัวใจไม่พอ ทำให้ใจสั่น นอนไม่หลับ ฝันมาก ลืมง่าย ความคิดเชื่องช้า ไม่มีชีวิตชีวา- ไฟหัวใจร้อนสู่เบื้องบน ทำให้ปลายลิ้นแดงอักเสบ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
285
มกราคม 2546
ดัดตนแก้เท้าเป็นเหน็บเห็นทุกข์เห็นโทษแท้เบญจขันธ์ นี้เป็นข้อความตอนหนึ่งของคำโคลง ในฤาษีดัดตนแก้เท้าเป็นเหน็บ ที่พระยาธิเบศรบดีเขียนไว้ คนเราถ้าอยู่เฉยๆ ไม่มีอาการผิดปกติของร่างกายก็จะไม่เห็นโทษทุกข์ บางอาจารย์บอกว่าถ้ามีอาการผิดปกติของร่างกาย เช่น ปวดเมื่อยขา ก็ให้วางเฉยแบบถืออุเบกขา กำหนดจิตให้รู้ทันว่าเป็นทุกข์ เพราะปวดที่ขา เฉยไว้แล้วก็จะหายไปเองไม่ต้องกินยา ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
284
ธันวาคม 2545
หญิงวัย ๒๐ ปี มีปัญหาเรื่องหงุดหงิดง่าย บางครั้งแน่นหน้าอกเหมือนจะขาดใจ ได้รับการรักษาด้วยยาจากจิตแพทย์มา ๗ ปี อาการเป็นๆหายๆ ดีบ้างหายบ้าง บางครั้งมีหูแว่ว มีภาพหลอน ในที่สุดแพทย์ได้ตัดสินใจให้ยาตัวใหม่ ผู้ป่วยได้ยาตัวนี้มานาน ๑ เดือนเศษ หลังจากกินยา มีอาการปัสสาวะรดที่นอน น้ำลายมาก เปียกที่นอนทุกคืน คุณแม่ของเด็กบังเอิญไปอ่านฉลากยาพบว่ามีข้อแนะนำให้เด็กตรวจเลือดเพื่อดูจำนวนเม็ดเลือดขาวทุก ๒ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
284
ธันวาคม 2545
ดัดตนแก้เท้าขัดแบบประยุกต์ทุกวันนี้ค่านิยมเปลี่ยนไปตามสังคมที่ตนเองชอบ คนเตี้ยอยากจะสูงเฉพาะสุภาพสตรีบางกลุ่มนิยมใส่รองเท้าที่มีพื้นสูงๆ ที่เรียกกันว่า ส้นตึก พอใส่แล้วทำให้คนอื่นเห็นว่าเป็นคนรูปร่างสูงดี เหมือนคนประเทศแถบยุโรปที่มีรูปร่างสูงอยู่แล้ว คนบางประเภทต้องให้คนที่เราเรียกว่าฝรั่งมาชี้แนะก่อนจึงจะยอมรับว่าดี ทั้งๆ ที่ของเราก็ดีอยู่แล้ว แต่ไม่ค่อยมั่นใจการที่ใส่รองเท้าส้นสูงๆ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
283
พฤศจิกายน 2545
ขิงในทัศนะแพทย์แผนจีน เป็นทั้งยาสมุนไพรที่ใช้บ่อยและ เป็นทั้งอาหาร เครื่องปรุงรส ที่ต้องมีไว้ประจำครัวเรือนขงจื๊อ ปราชญ์จีนสมัยชุนชิว (ค.ศ.๔๗๙-ค.ศ.๕๐๐) ได้เสนอว่า "อาหารทุกมื้อไม่ควรละเลยขิง" ท่านเชื่อว่าบรรดาผักต่างๆ ขิงมีคุณค่ามากที่สุด สามารถทำให้มีชีวิตชีวา ขจัดของเสียในร่างกาย ขงจื๊อเป็นคน มณฑลซานตุง ปัจจุบันที่เมืองไหลอู๋ของซานตุง มีโรงงานผลิตเหล้าขิง ที่มีชื่อ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
283
พฤศจิกายน 2545
ดัดตนแก้แน่นหน้าอกแน่นหน้าอก ผมเคยเป็นโรคแน่นหน้าอกมาแล้ว ก่อนที่จะทำการผ่าตัดเอาหลอดเลือดที่ขามาเปลี่ยน หลอดเลือดหัวใจที่ตีบลง ตอนนั้นพอออกกำลังมากหน่อยก็จะรู้สึกเหนื่อยมาก จนแน่นหน้าอก ต้องหยุดพักชั่วคราวจนกว่าจะหาย แน่นหน้าอกถึงจะทำงานได้ต่อไปความเครียดก็เป็นตัวช่วยเสริมให้เป็นมากขึ้น ที่ผมเป็นเช่นนี้เพราะสมัยยังวัยรุ่นมีความประมาทเรื่อง อาหารการกินจะกินตามใจที่อยาก เช่น ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
282
ตุลาคม 2545
ฝังเข็มลดความอ้วน (ตอนจบ)ผลการศึกษาวิจัยทางวิทยาศาสตร์๑.การวิจัยของคณะแพทย์แผนจีนแห่งมหาวิทยาลัยนานกิงเกี่ยวกับ ผลของการฝังเข็มที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงของระดับฮอร์โมนที่เกี่ยวข้อง กับการสลายไขมันและการเก็บไขมันของร่างกายพบว่าคนอ้วนโดยส่วนใหญ่จะมีระดับน้ำตาลในเลือดค่อนข้างสูงกว่าคน ปกติ ซึ่งเป็นการสะท้อนว่า ร่างกายจะกระตุ้นการหลั่งฮอร์โมนอินซูลิน (insulin) จากตับอ่อนสู่ระบบเลือดมากขึ้น ...