กรณีศึกษา

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 185 กันยายน 2537
    พันธุกรรม - พฤติกรรม หมอชาวบ้านฉบับนี้ได้นำเรื่องดาวน์ซินโดรมมาขึ้นปก สภาวะเช่นนี้เกิดจากพันธุกรรมสภาวะหรือโรคที่เกิดจากพันธุกรรมมีหลายชนิดเมื่อปลายเดือนกรกฎาคมต่อต้นเดือนสิงหาคมปีนี้ก็มีการประชุมพันธุศาสตร์การแพทย์แห่งเอเชียแปซิฟิกกันในกรุงเทพฯนี้เอง โรคที่เกิดจากพันธุกรรมมีมากหลาย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 185 กันยายน 2537
    ดาวน์ซินโดรม ปัญญาอ่อนที่พัฒนาได้ดิฉันเจอกับแฟนเมื่อต้นปี’36 เราดูใจกันไม่นานก็ตกลงแต่งงานกัน เนื่องจากต่างคนต่างอายุมากแล้ว หลังแต่งงานเราจึงปล่อยไม่มีการคุม เพราะอยากมีลูกเร็วๆ หลังแต่งงานไม่นานดิฉันก็ตั้งครรภ์ เราทั้งสองดีใจมาก ดิฉันพยายามดูแลสุขภาพอย่างดี เพื่อลูกในท้องจะได้แข็งแรง เมื่อครบกำหนดคลอด ตอนคลอดลูกคลอดยากนิดหน่อยดิฉันได้ลูกสาวหน้าตาน่าเกลียดน่าชัง คุณพ่อและคุณยายดีใจมาก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 184 สิงหาคม 2537
    ความรักของแม่ มหาพลังทางสังคมสังคมทั่วโลกเคลื่อนไหวด้วยความเร็วสูง ทำให้มนุษย์มีสภาพเหมือนหนูที่วิ่งบนสายพานที่เคลื่อนที่เร็ว ทุกตัวเหนื่อย บางตัวตายไปเพราะหมดแรง บางตัวตายไปเพราะอุบัติเหตุถ้ามองให้ละเอียดมีวิกฤติการณ์ทางสังคมอยู่ทั่วไป ที่เป็นอย่างนี้เพราะความหลงผิดที่เอาเศรษฐกิจเป็นเอกพลังในการขับเคลื่อนสังคม ซึ่งเท่ากับใช้โลภจริตเป็นเชื้อเพลิง เศรษฐกิจมีความสำคัญ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 184 สิงหาคม 2537
    การเลือกซื้อ “อาหารกระป๋อง”ปัจจุบันอาหารกระป๋องเป็นที่แพร่หลายในท้องตลาด และซูเปอร์มาร์เก็ตทั่วไป ซึ่งมีหลายคนและหลายครอบครัวให้ความนิยมในการบริโภค แต่คุณทราบหรือไม่ว่าอาหารที่คุณบริโภคอยู่นั้นมีความปลอดภัยแค่ไหน ฉะนั้นการเลือกซื้ออาหารกระป๋องในแต่ละครั้งจึงมีความจำเป็นไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าการเลือกซื้ออาหารอื่นๆ หลักการเลือกซื้ออาหารกระป๋องมีดังนี้1. ดูลักษณะกระป๋อง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 183 กรกฎาคม 2537
    การทำแท้งการทำแท้งเป็นข่าวใหญ่เมื่อเร็วๆนี้ โดยมีการไปจับที่โรงพยาบาลแห่งหนึ่งจากการวิจัยโดยคณะกรรมการของศาสตราจารย์นายแพทย์สุพร เกิดสว่าง ประมาณการว่าในปีหนึ่งๆ น่าจะมีการทำแท้งประมาณ 300,000 คนหากพูดเฉพาะเทคนิคที่ใช้ทำ ถ้าลักลอบทำโดยคนที่ขาดความรู้ความชำนาญก็เป็นอันตรายถึงชีวิตถ้าใครเคยเห็นเด็กผู้หญิงที่ทำแท้งแล้วต้องเจ็บหนักจนจวนเจียนเสียชีวิตแล้วจะน่าสงสารมาก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 182 มิถุนายน 2537
    อิสรภาพกับสุขภาพผมอยากนำเรื่องอิสรภาพกับสุขภาพมาคุยกับท่านผู้อ่าน เมื่อเร็วๆนี้ได้พบกับผู้หญิงคนหนึ่งจากอยุธยา เธอเล่าว่าเมื่อก่อนเธอเจ็บป่วยอยู่หลายโรค ต่อมาเมื่อไปร่วมทำงานเพื่อชุมชน โรคต่างๆหายไปหมด มีความสุขและสุขภาพดีมาก ที่เป็นดังนั้นก็เพราะการทำงานเพื่อชุมชนนั้นทำให้เป็นอิสระจากความเห็นแก่ตัว ความเห็นแก่ตัวคือความบีบคั้น เมื่อเห็นแก่ตัวจัดก็จะเครียด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 182 มิถุนายน 2537
    น้ำส้มสายชูน้ำส้มสายชู เป็นผลิตภัณฑ์ที่อยู่คู่โลกและเป็นที่นิยมบริโภคกันมาแต่โบราณกาล ฝรั่งเรียกน้ำส้มสายชูว่า Vinegar ซึ่งมาจากภาษาฝรั่งเศสว่า “Vinaigre” อันมีความหมายว่าเหล้าไวน์ที่มีรสเปรี้ยวนั่นเองน้ำส้มสายชูเป็นเครื่องปรุงรสสำหรับอาหารในบ้านเราหลายชนิด โดยเฉพาะอาหารที่มีต้นกำเนิดมาจากประเทศจีน เช่น ก๋วยเตี๋ยว ข้าวขาหมู น้ำจิ้มหลายชนิด ฯลฯ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 181 พฤษภาคม 2537
    คนในเมืองแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมวิกฤติง่ายนิดเดียว ด้วยการกินอาหารปลอดสารเคมีประเวศ วะสีภาวะแวดล้อมวิกฤติที่สำคัญคือการทำลายป่าไม้ ประเทศไทยมีเนื้อที่ 321 ล้านไร่ เมื่อ 35 ปีก่อนเรามีเนื้อที่เป็นป่ากว่า 220 ล้านไร่ หรือกว่าร้อยละ 69 ของเนื้อที่การที่ประเทศใดประเทศหนึ่งจะมีความสมดุลตามธรรมชาติ ควรมีเนื้อที่เป็นป่าร้อยละ 50 หรืออย่างน้อยไม่ควรต่ำกว่าร้อยละ 40ภายใน 30 ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 181 พฤษภาคม 2537
    ยีน-โครโมโซม-ดีเอ็นเอ(การพิสูจน์ความเป็นพ่อ-แม่-ลูก ตอนที่ 2)ตอนที่แล้วได้พูดจากันถึงความหมายของคำ 3 คำนี้สรุปโดยย่อ ก็คือ พันธุกรรมเปรียบเหมือนรหัสข้อมูลที่สามารถถ่ายทอดไปยังลูกหลาน ข้อมูลเหล่านี้แฝงอยู่ในโครโมโซม (chromosome) หรือแถบพันธุกรรม โครโมโซมแต่ละแถบจะประกอบด้วยยีน (gene) หรือลักษณะพันธุกรรมมากมาย และยีนแต่ละลักษณะประกอบด้วยสารดีเอ็นเอ (DNA) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 180 เมษายน 2537
    ยีน-โครโมโซม-ดีเอ็นเอ (ตอนที่ 1)ตอนก่อนๆ ได้พูดถึงเรื่องของโรคที่ถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์หรือพันธุกรรม ครั้งที่แล้วคอลัมน์นี้ได้หายหน้าหายตาไป เนื่องเพราะได้ยกเนื้อที่ให้กับ “เรียนรู้จากข่าว” เรื่อง “ลายพิมพ์ดีเอ็นเอ” ซึ่งก็เกี่ยวข้องกับเรื่องของพันธุกรรมเช่นเดียวกัน ...