-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
170
มิถุนายน 2536
การตรวจรักษาอาการ “เลือดออก” (ตอนที่ 6)ในร่างกายของเรามีอวัยวะต่างๆ มากมายที่อาจเกิดอาการเลือดออกได้ บางแห่งอาจจะไม่มีบาดแผลแสดงให้เห็นแต่ก็เกิดอาการเลือดออกจนคนที่เจอปัญหานี้ไม่รู้ว่าควรจะปฏิบัติตัวอย่างไร หากอยากรู้ติดตามต่อได้เลยครับ7. ไอเป็นเลือดหรือขาก เป็นอาการเลือดออกทางปากอีกอย่างหนึ่ง แต่ไม่ได้เกิดจากบาดแผลโรคในปาก ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
170
มิถุนายน 2536
ดื้อเงียบครั้งนี้หมอจะขอยกเอาเหตุการณ์จริงที่เพิ่งประสบมากับตัวเอง มาสาธกให้พิจารณากัน เป็นเรื่องของเด็กชายคนหนึ่งอาจจะคล้ายกับเด็กที่ท่านเคยรู้จักหรือกำลังอยู่ในปกครองของท่าน อาจจะเป็นลูกเป็นหลานของท่าน หรือเป็นศิษย์น้อยๆ แม้เรื่องนี้จะไม่มีความน่าตื่นเต้นมากมายอะไร ทว่าก็นับเป็นเรื่องที่แฝงเร้นบางอย่างที่ไม่เล็กเกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์เอาไว้ให้ชวนคิด ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
169
พฤษภาคม 2536
ไข้ทับระดู- ระดูทับไข้“คุณหมอคะ น้องสาวดิฉันที่คุณหมอฉีดยาแก้ไข้ไปเมื่อตะกี้นี้ พอกลับถึงบ้าน คุณแม่ดิฉันและเพื่อนบ้านต่างพูดใส่หูว่า เป็นไข้ทับระดู โบราณเขาห้ามฉีดยา ฉีดแล้วจะเป็นอันตรายน้องสาวตกใจหน้าซีดเลย ไม่ทราบว่าจะเป็นอะไรตามที่เขาว่าหรือเปล่าคะ?” ญาติคนไข้พาคนไข้กระหืดกระหอบกลับมาหาหมอหมอซักถามและตรวจดูอาการคนไข้ซ้ำอีกรอบ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
169
พฤษภาคม 2536
การตรวจรักษาอาการ “เลือดออก” (ตอนที่ 5)อาการร้อน ๆ ของเดือนเมษา-พฤษภานี้ทรมานดีแท้ แล้วอาการยอดฮิตในหน้าร้อนอีกอาการหนึ่ง ก็คือเลือดออกที่จมูกหรือที่เรียกกันทั่วไปว่า เลือดกำเดา ซึ่งก็ได้นำการวินิจฉัยและการรักษาอย่างง่ายๆ มาเสนอดังต่อไปนี้5. เลือดออกที่จมูก : ถ้าเลือดออกจากบาดแผลภายนอกจากการถูกของมีคม การแกะ การบีบสิวเสี้ยนหรืออื่นๆ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
168
เมษายน 2536
ผลยาหลอก“คุณหมอครับ ยาแก้ปวดเม็ดสีขาวที่คุณหมอจ่ายให้ไปกินคราวที่แล้ว ผมกินแล้วไม่ค่อยได้ผล ขอเป็นเม็ดสีฟ้าขาวอย่างครั้งก่อนๆ โน้นดีกว่าครับ” คนไข้ที่มีอาการปวดศีรษะไมเกรนเป็นประจำมาขอร้องให้หมอสั่งยาตามสีสันที่ชอบ“เอ้า...หมอบอกตรงๆว่ายาเม็ดสีขาวกับสีฟ้าขาวเป็นตัวยาแก้ปวดพาราเซตามอลเหมือนๆกัน ต่างกันตรงยี่ห้อและสีสันเท่านั้น ฤทธิ์ยาไม่น่าจะต่างกัน...” ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
167
มีนาคม 2536
การตรวจรักษาอาการ “เลือดออก” (ตอนที่ 3)การรักษาอาการเลือดออกนั้นใช่ว่าจะมีเพียงแค่บาดแผลที่ทำให้มีเลือดไหลออกนอกร่างกายเท่านั้น แต่ยังรวมถึงอาการที่มีเลือดออกภายในร่างกายด้วย ซึ่งจะมีความรุนแรงมากน้อยเพียงใดก็ขึ้นอยู่กับสาเหตุที่ทำให้เกิดอาการนั้นและจะมีวิธีการรักษาที่แตกต่างกันออกไป ดังที่จะกล่าวต่อไปนี้เพื่อให้การตรวจรักษาอาการเลือดออกเป็นไปตามอาการเลือดออกที่พาผู้ป่วยมารักษา ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
167
มีนาคม 2536
ถอนฟันกับปวดหลังญาติสูงอายุผู้หญิงของผมคนหนึ่ง ท่านตื่นตี 5 เพื่อไปออกกำลังกายที่สวนลุมฯ ทุกเช้า พอตอนสายขึ้นรถเมล์ไปขายของทุกวัน ถึงตอนเย็นก็กลับบ้านพักผ่อน ปรากฏว่า สุขภาพท่านดี ไม่อ้วน กินอาหารได้ ถ่ายอุจจาระได้ หัวถึงหมอนนอนหลับทันที ไม่เคยเจ็บไข้ได้ป่วยจนล้มหมอนนอนเสื่อ แต่เมื่อไม่นานมานี้ท่านไปถอนฟันออก 5 ซี่ เพื่อเตรียมใส่ฟันปลอม น้ำหนักท่านลดลงทันที 3 ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
166
กุมภาพันธ์ 2536
การตรวจรักษาอาการ “เลือดออก” (ตอนที่ 2)ฉบับปฐมฤกษ์ของเรื่องราวการตรวจรักษาอาการผู้ป่วยที่มีอาการเลือดออก หรือในฉบับก่อนนั้นได้กล่าวถึงลักษณะอาการเลือดออกในรูปแบบต่างๆ ไปแล้ว พร้อมกับนำเสนอขั้นตอนแรกของการปฐมพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการหนักหรือฉุกเฉินที่ต้องเสียเลือดมาก โดยการห้ามเลือดทันที และขั้นต่อไปก็คือก.2 รีบช่วยชีวิตผู้ป่วยไว้ก่อน โดย1. ให้ผู้ป่วยนอนราบลงกับพื้น ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
165
มกราคม 2536
การตรวจรักษาอาการ “เลือดออก” (ตอนที่ 1)อาการเลือดออก (blooding หรือ hemorrhage) หมายถึง การที่เลือดไหลออกนอกหลอดเลือด (เส้นเลือด) ซึ่งบางครั้งก็เห็นได้ชัด โดยเฉพาะในกรณีที่เลือดไหลออกจากบาดแผลที่ผิวหนัง ซึ่งจะเห็นเป็นน้ำสีแดงข้นๆ อาจจะเป็นสีแดงสดหรือสีแดงคล้ำๆ ไหลออกจากบาดแผลถ้าเป็นสีแดงสด แสดงว่า เลือดที่ออกนั้นออกจากหลอดเลือดแดง (artery) หรือหลอดเลือดฝอย (capillary) มีออกซิเจนมาก ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
164
ธันวาคม 2535
ถึงเวลา...หญิงไทยร่วมใจต้านภัยเอดส์“ไป...ผมก็ไปแป๊บเดียว แต่ต้องกินเหล้าก่อน ส่วนใหญ่แล้วไปคนเดียวครับ เพราะเวลากินเหล้าชอบนั่งคนเดียว ตอนไปแดง (ภรรยา) เขาไม่รู้หรอก แต่กลับมาผมก็บอกเขาทุกที จะว่าไปบ่อยหรือเปล่าก็ไม่รู้เหมือนกัน อย่างปีที่แล้วนี่ไม่ได้เที่ยวเลย มาปีนี้เที่ยว มกราคม-มิถุนายน 6-7 ครั้ง”จนเมื่อประมาณเดือนมิถุนายนที่ผ่านมา เขามีอาการปวดท้องอย่างรุนแรง ...