Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » คอลัมน์ » มาเป็นหมอกันเถิด

มาเป็นหมอกันเถิด

  • เรื่อง “ไอ” (ตอนที่ 2)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 216 เมษายน 2540
    เรื่อง “ไอ” (ตอนที่ 2)คนไข้รายที่ ๒ ชายหนุ่มรูปร่างบึกบึนท่าทางแบบกรรมกรพาลูกชายวัย ๖ ขวบ ที่มีอาการไอเป็นพักๆมาหาหมอเด็กน้อยมีรูปร่างผอม ค่อนข้างแห้ง (ผิวแห้ง ปากแห้ง) ท่าทางอิดโรยมาก และตาทั้ง ๒ ข้างแดงสด (ตาขาวแดงสด) เพราะมีเลือดออกที่ตาขาวชาย : “หมอ ดูลูกผมด้วย มันจะแย่แล้ว”หมอ : “ลูกคุณมีอาการอะไรหรือ”ชาย : ”สัปดาห์ก่อน มันมีไข้ น้ำมูกไหล ...
  • เรื่อง “ไอ”

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 215 มีนาคม 2540
    เรื่อง “ไอ”ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๒๕ คำว่า “ไอ” เป็นคำนาม หมายถึง “สิ่งที่มีลักษณะควัน ลอยออกมาจากที่ถูกความร้อนทำให้ระเหย เช่น ไอน้ำ (ไอจากน้ำที่ระเหย) ไอตัว (ความร้อนที่ระเหยจากร่างกาย) ไอแดด (ความร้อนจากแดดที่เข้ามาถึงในร่ม) เป็นต้น”แต่ “ไอ” ที่เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่ลมพุ่งขึ้นมาจากปอดโดยแรง ...
  • เรื่อง “ไข้” (ตอนที่ 5)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 214 กุมภาพันธ์ 2540
    เรื่อง “ไข้” (ตอนที่ 5)โรคต่างๆที่อาจตามมาหลังจากมีอาการดังกล่าว (ตอนที่ 4) 4. อาการปวดศีรษะมาก อาการปวดศีรษะอาจเกิดร่วมกับอาการไข้ต่างๆ โดยเฉพาะถ้าไข้สูง หรือไข้ขึ้นมากๆ ถ้าไข้ลงแล้ว(ตัวไม่ร้อนแล้ว)ยังปวดศีรษะมาก ต้องตรวจดูว่าบริเวณที่ปวดนั้นกดเจ็บไหมหรือเคาะเจ็บไหม เช่นถ้ากดเจ็บหรือเคาะ(ด้วยปลายนิ้วมือ)แล้วเจ็บที่บริเวณหว่างคิ้วหรือโหนกแก้ม และมีอาการคัดจมูกและน้ำมูกเป็นหนองด้วย ...
  • เรื่อง “ไข้” (ตอนที่ ๔)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 213 มกราคม 2540
    เรื่อง “ไข้” (ตอนที่ 4)โรคต่างๆที่เกิดอาจเกิดตามมาหลังจากมีอาการดังกล่าว (ตอนที่ 3) เช่นโรคหัด (measles)โรคอีสุกอีใส (chickenpox)โรคส่าไข้หรือโรคไข้ผื่น (exanthematous diseases) อื่นๆ จะทำให้เกิดผื่น(ตั้งแต่เป็นผื่นแดงธรรมดา จนถึงเป็นตุ่ม เป็นแผล หรือเป็นฝีได้) ตามใบหน้า ลำตัว และ/หรือแขนขาลักษณะของผื่นที่ขึ้นชัดเจนแล้วทำให้เราวินิจฉัยโรคไข้ผื่นแต่ละชนิดได้ ...
  • เรื่อง ไข้ (ตอนที่ 3)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 212 ธันวาคม 2539
    เรื่อง “ไข้” (ตอนที่ 3)อาการร่วมหลายอย่างที่จะทำให้เรารู้สาแหตุของโรคได้เช่น1.อาการคัดจมูก น้ำมูกไหล ถ้าเกิดร่วมกับอาการไข้ตัวร้อนหรือรู้สึกครั่นเนื้อครั่นตัว หนาวๆร้อนๆ หรือสะบัดร้อนสะบัดหนาวจะทำให้นึกถึง “โรคไข้หวัด” (common cold or coryza) ซึ่งเป็นโรคที่พบบ่อยมาก และอาจทำให้มีอาการเจ็บคอ ไอแห้งๆ หรือไอมีเสมหะสีขาวๆหรือไม่มีสี และอาจมีอาการปวดเมื่อยตามตัว ...
  • เรื่อง “ไข้”(ตอนที่ 2)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 211 พฤศจิกายน 2539
    เรื่อง “ไข้”(ตอนที่ 2)คนไข้รายที่4 ชายอายุ 4o ปี ถูกพามาโรงพยาบาลเพราะมีไข้สูง ไอเป็นเลือดและหอบเหนื่อยมา2 วันคนไข้ : “หมอ ช่วยผมด้วย ไอจนเจ็บหน้าอกไปหมดแล้ว”หมอ : “คุณเป็นมากี่วันแล้ว” คนไข้ : “2 วันครับ อยู่ดีๆ ก็เป็นไข้หนาวสั่นขึ้นมา ต่อมาก็ไอ และไอมากขึ้นเรื่อยๆ มีเลือดออก และเจ็บหน้าอกด้านขวามากครับ”หมอ : “3-4 วันก่อน ...
  • เรื่อง “ไข้” (ตอนที่ 1)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 210 ตุลาคม 2539
    เรื่อง “ไข้” (ตอนที่ 1)ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 คำว่า “ไข้” หมายถึง อาการของโรค ทำให้ตัวร้อน และหมายถึงความเจ็บป่วยด้วยดังนั้น เมื่อใครพูดว่า เป็น “ไข้” ...
  • ปวดท้อง (ตอนที่ 1)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 204 กันยายน 2539
    ปวดท้อง (ตอนที่ 1)อาการปวดท้องอาจเป็นอาการปวด เจ็บ แสบ เสียด จุก แน่น หรือไม่สบายในท้องและท้องน้อย ถ้าเป็นมากอาจเสียวร้าวขึ้นมาที่ไหล่ไปด้านหลัง หรือลงไปบริเวณก้นได้คงไม่มีใครที่ไม่เคยปวดท้อง เพราะอาการปวดท้องเป็นอาการที่พบมากที่สุดอาการหนึ่ง แม้แต่หัวเราะมาก ๆ ก็ปวดท้องได้ ที่เรียกว่า “หัวเราะจนท้องคัดท้องแข็ง” ไอมาก ๆ ก็ปวดท้อง ออกกำลังก็ปวดท้องได้ เป็นต้นคนไข้รายที่ ...
  • หอบเหนื่อย (ตอนจบ)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 209 กันยายน 2539
    หอบเหนื่อย (ตอนจบอาการหอบเหนื่อยที่ไม่ฉุกเฉินสำหรับคนไข้ที่หอบเหนื่อยแต่ไม่ฉุกเฉิน เพราะไม่มีอาการต่างๆดังที่กล่าวไว้ในฉบับที่แล้วก็ควรให้การดูแลรักษาขั้นแรกดังนี้1.ให้อยู่ในท่าที่คนไข้สบายที่สุด อาจเป็นท่านั่งพิง ท่านั่งก้มไปข้างหน้า (ฟุบกับโต๊ะ) หรืออื่นๆ2.ใช้พัด หรือพัดลมโบกเป่าให้คนไข้ 3.พูดให้กำลังใจ ให้คลายความกลัวและความเครียดความกังวลลง4.กำจัด ...
  • หอบเหนื่อย

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 207 กรกฎาคม 2539
    หอบเหนื่อยตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525หอบ แปลว่า หายใจด้วยความเหนื่อย หรืออ่อนเพลียเหนื่อย แปลว่า รู้สึกอ่อนแรงลงหรืออิดโรยส่วน “หอบเหนื่อย” ในที่นี้หมายถึง อาการที่คนไข้รู้สึกหายใจไม่ออกหรือหายใจไม่ทันจนต้องหายใจแรงๆหรือเร็วๆ หรือทั้งแรงและเร็ว และมักรู้สึกเหนื่อยด้วย หรือคนไข้อาจไม่รู้สึกเลย แต่คนอื่นเห็นว่าคนไข้หายใจแรง เร็ว ...
  • «
  • ‹
  • …
  • 7
  • 8
  • 9
  • 10
  • 11
  • 12
  • 13
  • 14
  • 15
  • …
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • อาหารสมุนไพร
  • อาหารและโภชนาการ
  • อื่น ๆ
  • เก็บข่าวมาฝาก
  • เก็บมาฝาก
  • เก็บสาระจากวารสารต่างประเทศ
  • เข้าครัว
  • เคล็ดลับน่ารู้
  • เด็กๆ..(ผู้ใหญ่ อ่านดี)
  • เทคนิคการถนอมผิว
  • เที่ยวไปเรียนรู้ไป
  • เปลี่ยนชีวิต
  • เปิดตำรายา
  • เพศชาวบ้าน
  • เพื่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม
  • ‹‹
  • 11 จาก 14
  • ››

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)< และสถาบัน ChangeFusion< พัฒนาระบบโดย Opendream< สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa <