Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » คอลัมน์ » มาเป็นหมอกันเถิด

มาเป็นหมอกันเถิด

  • ปวดท้อง (ตอนที่ 3)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 206 มิถุนายน 2539
    ปวดท้อง (ตอนที่ 3)คนไข้รายที่3 ชายไทยม่าย อายุ75 ปี มีอาการแน่นๆในท้องมา 5-6 วัน อาการเป็นมากขึ้นๆ จึงมาโรงพยาบาลชาย : “สวัสดีครับ คุณหมอ ผมแน่นๆในท้องมา 5-6 วัน กินข้าวไม่ได้ กินแล้วแน่นท้อง ต้องกินแต่น้ำข้าว น้ำหวานครั้งละน้อยๆ รู้สึกซูบลงไปมาก”หมอ : “สวัสดีครับ ...
  • ปวดท้อง (ตอนที่ 2)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 205 พฤษภาคม 2539
    ปวดท้อง (ตอนที่ 2)คนไข้รายที่2 นักศึกษาแพทย์ชายอายุ 2o ปี มีอาการปวดท้องมา1 วัน จึงไปหาอาจารย์แพทย์คนหนึ่ง นักศึกษา : “อาจารย์ครับ ผมปวดท้องแบบไม่เคยเป็นมาก่อนครับ ไม่ทราบว่าเป็นอะไร ปวดมาหนึ่งวันแล้วครับ”อาจารย์ : “แล้วหมอ(อาจารย์มักเรียกนักศึกษาแพทย์ว่าหมอ)มีอาการอื่นมั้ย”นักศึกษา : “มีไข้ 38.6 องศาเซลเซียสครับ แล้วรู้สึกเจ็บในท้อง คลื่นไส้ ...
  • ปวดหัว ( ตอนที่ 3 )

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 203 มีนาคม 2539
    ปวดหัว ( ตอนที่ 3 )คนไข้รายที่ 4นักศึกษาแพทย์อายุ 18 ปี มีอาการปวดหัว เวียนหัว และตาพร่ามัว ขณะฟังการสอนของอาจารย์อยู่ในห้องเรียน จนต้องนั่งฟุบลงกับโต๊ะ เมื่ออาจารย์สอนเสร็จแล้วจึงถามว่าอาจารย์ : “เธอเป็นอะไรไป หน้าซีดจัง แล้วก็ฟุบหลับตลอดครึ่งชั่วโมงหลังที่ครูสอน”นักศึกษา : “ไม่ทราบครับ กำลังฟังและจดสิ่งที่อาจารย์สอนอยู่ดี ๆ ตามันเกิดฝ้าฟางขึ้นมา มองเห็นหน้าอาจารย์เป็นสอง ...
  • ปวดหัว (ตอนที่ 2 )

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 202 กุมภาพันธ์ 2539
    ปวดหัว (ตอนที่ 2 ) คนไข้รายที่ 2หญิงอายุประมาณ 40 ปี มาโรงพยาบาลด้วยอาการปวดศีรษะอย่างรุนแรงในตอนกลางดึกหญิง : “โอย...คุณหมอ...ช่วยหน่อย ปวดหัวจังเลยค่ะ”หมอ ...
  • ปวดหัว

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 201 มกราคม 2539
    ปวดหัวปวดหัวหรือปวดศีรษะ ในที่นี้หมายถึง อาการปวด หรือเจ็บ หรือตื้อ หรือร้าว หรือหนักบริเวณหัว (บริเวณศีรษะ) ตั้งแต่บริเวณส่วนบน(หน้าผาก) ขึ้นไปที่ส่วนบนสุดของศีรษะแล้วลงไปยังบริเวณท้ายทอย และด้านข้างของกะโหลกศีรษะทั้งสองข้างถ้าปวดต่ำกว่าหน้าผากลงมาเรามักจะเรียกเป็นการปวดของส่วนต่าง ๆ ที่มีชื่อเฉพาะโดยตรง เช่น ปวดคิ้ว ปวดจมูก ปวดโหนกแก้ม ปวดคาง (เจ็บคางหรือเจ็บขากรรไกร) ...
  • วูบ (ตอนที่ 6)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 200 ธันวาคม 2538
    วูบ (ตอนที่ 6)เรื่องราวต่าง ๆ ทางการแพทย์มีมากมาย หลายคนดูว่ายุ่งยากซับซ้อน หรือถูกทำให้ดูยุ่งยากสับสน จนไม่อยากแตะต้อง “สิ่งละอันพันละน้อย” จะนำเรื่องเหล่านี้ มาทำให้อ่านง่าย เข้าใจง่าย เพื่อจะได้เป็นประโยชน์ในวงกว้างต่อไปคนไข้รายที่ 5 : หญิงวัยรุ่นอายุประมาณ 20 ปี แต่งเครื่องแบบนักศึกษาของมหาวิทยาลัยมีชื่อแห่งหนึ่ง เดินเข้ามาหาหมอด้วยใบหน้าแสดงความกังวลหญิง : ...
  • วูบ (ตอนที่ 5)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 199 พฤศจิกายน 2538
    วูบ (ตอนที่ 5)เรื่องราวต่าง ๆ ทางการแพทย์มีมากมาย หลายคนดูว่ายุ่งยากซับซ้อน หรือถูกทำให้ดูยุ่งยากสับสน จนไม่อยากแตะต้อง “สิ่งละอันพันละน้อย” จะนำเรื่องเหล่านี้มาทำให้อ่านง่าย เข้าใจง่าย เพื่อจะได้ประโยชน์ในวงกว้างต่อไป คนไข้รายนี้ไปโรงพยาบาลด้วยอาการ “วูบ” และหมอที่โรงพยาบาลบอกว่าเป็นสมองขาดเลือด และจะให้นอนโรงพยาบาลไม่ได้ ...
  • วูบ (ตอนที่ 4)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 198 ตุลาคม 2538
    วูบ (ตอนที่ 4)เรื่องราวต่าง ๆ ทางการแพทย์มีมากมาย หลายคนดูว่ายุ่งยากซับซ้อนหรือถูกทำให้ดูยุ่งยากสับสน จนไม่อยากแตะต้อง “สิ่งละอันพันละน้อย” จะนำเรื่องเหล่านี้ มาทำให้อ่านง่าย เข้าใจง่าย เพื่อจะได้เป็นประโยชน์ในวงกว้างต่อไปในผู้ป่วยที่เกิดอาการวูบรายนี้ สาเหตุเกิดจาก 4 ประการด้วยกัน คือ1. อดนอน นอนดึก2. เพิ่มยาลดความดันเลือด3. การงดอาหารเช้า4. อากาศที่อับ ...
  • วูบ (ตอนที่ 3)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 197 กันยายน 2538
    วูบ (ตอนที่ 3)เรื่องราวต่าง ๆ ทางการแพทย์ มีมากมาย หลายคน ดูว่ายุ่งยากซับซ้อน หรือถูกทำให้ดูยุ่งยากสับสน จนไม่อยากแตะต้อง “สิ่งละอันพันละน้อย” จะนำเรื่องเหล่านี้ มาทำให้อ่านง่าย เข้าใจง่าย เพื่อจะได้เป็นประโยชน์ ในวงกว้างต่อไปคนไข้รายที่ 2 : เป็นอาจารย์ในโรงเรียนแพทย์แห่งหนึ่ง ขณะกำลังยืนสอนนักเรียนแพทย์และแพทย์ประจำบ้านอยู่ข้างเตียงคนไข้ ก็เกิดอาการ “วูบ” ล้มลง ...
  • วูบ (ตอนที่ 2)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 196 สิงหาคม 2538
    วูบ (ตอนที่ 2)เรื่องราวต่าง ๆ ทางการแพทย์มีมากมาย หลายคนดูว่ายุ่งยากซับซ้อนหรือถูกทำให้ดูยุ่งยากสับสนจนไม่อยากแตะต้อง “สิ่งละอันพันละน้อย” จะนำเรื่องเหล่านี้มาทำให้อ่านง่ายเข้าใจง่ายเพื่อจะได้เป็นประโยชน์ในวงกว้างต่อไป“วูบ” ในคนไข้รายแรกนี้จึงเป็นอาการวูบที่เกิดจาก “ภาวะความดันเลือดตกเมื่อเปลี่ยนท่า"(orthos-tatic hypotension) ...
  • «
  • ‹
  • …
  • 8
  • 9
  • 10
  • 11
  • 12
  • 13
  • 14
  • 15
  • 16
  • …
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • เมดดี้ คอร์เนอร์
  • เรารักสุขภาพ
  • เรียนจากลูกรัก
  • เรียนรู้จากข่าว
  • เรียนรู้สู้เอดส์
  • เรียนรู้เรื่องของเล่น
  • เรียนรู้เรื่องเพศ
  • เรียนรู้โรคโดยช่วยกันถาม
  • เรียนหมอจากภาพ
  • เรื่องจริงจากการใช้ยา
  • เรื่องน่ารู้
  • เรื่องวุ่นๆ ของคุณผู้หญิง
  • เรื่องเด่นจากปก
  • เล่าสู่กันฟัง
  • เล่าสู่กันฟัง (บุคคลสำคัญทางการแพทย์)
  • ‹‹
  • 12 จาก 14
  • ››

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa