Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » คอลัมน์ » เรื่องน่ารู้

เรื่องน่ารู้

  • กินอย่างไร เมื่อท้องเสีย

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 312 เมษายน 2548
    คำกล่าวที่ว่า "กองทัพเดินด้วยท้อง" ชี้ให้เห็นถึงความสำคัญของการกินอาหารได้อย่างดี เมื่อท้องอิ่มกิจกรรรมทุกอย่าง ย่อมขับเคลื่อนไปอย่างมีพลัง แต่ถ้า "ท้องเสีย" ขึ้นละก็ นอกจากกองทัพหยุด เดินแล้ว คนในกองทัพยังอ่อนแรงหมดกำลัง อย่าว่าแต่ออกรบปรบมือกับใครเลย ลำพังประคองตัวให้กลับมากินได้แบบเดิม ก็ไม่ง่ายแล้ว อาการท้องเสีย"ท้องเสีย" บางทีเรียก "ท้องร่วง ท้องเดิน ...
  • กินอย่างไร เมื่อเป็นโรคกระเพาะ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 311 มีนาคม 2548
    คุณอาจเป็นคนหนึ่งที่มีชีวิตประจำวันเคร่งเครียดวุ่นวายยุ่งเหยิง จนกระทั่งเวลากินอาหารก็กินอย่างเร่งรีบ บางครั้งก็กินไม่เป็นเวลา ที่แย่กว่านี้ก็ต้องอดอาหารบางมื้อหรือกว่าจะได้กินก็ล่วงเลยมื้ออาหารไปนาน หากเกิดเหตุการณ์เช่นนี้บ่อยๆ โรคกระเพาะอาจถามหาได้ ซึ่งคงไม่มีใครอยากเป็นเช่นนี้ รู้จักโรคกระเพาะโรคกระเพาะมักมีอาการปวดแสบ ปวดตื้อ ปวดเสียดหรือจุกแน่น ตรงบริเวณใต้ลิ้นปี่ อาการปวดเหล่านี้ ...
  • กินอย่างไรเมื่อเป็นโรคเกาต์

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 310 กุมภาพันธ์ 2548
    อาหารการกินเกี่ยวข้องกับสุขภาพอย่างยิ่ง ดังคำกล่าว you are what you eat หรือคุณกินอย่างไรย่อมเป็นอย่างนั้น ทุกวันนี้คนจำนวนมากจึงหันมาสนใจและใส่ใจเรื่องอาหารการกินมากขึ้น เพราะรู้ว่ากินไม่ดีมีโอกาสเกิดโรคต่างๆ ได้ง่ายขึ้น แต่ถ้ากินดีกินให้เหมาะสม นอกจากห่างไกลโรคแล้ว โรคที่เป็นอยู่หลายโรคยังทุเลาเบาบางได้ด้วย ดังเช่น การกินอาหารกับโรคเกาต์ ที่จะนำมาเล่าสู่กันฟังในฉบับนี้รู้จักโรคเกาต์โรคเกาต์ ...
  • แกงแค อาหารเมืองเหนือ เมนูหลากหลายทางชีวภาพ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 309 มกราคม 2548
    ทุกวันนี้คนในเมืองกินอาหารกันค่อนข้าง จำเจไม่หลากหลาย เนื้อสัตว์ก็มีแต่หมู ไก่ ไข่ ที่ได้มาจากฟาร์มขายตามร้านอาหารสำเร็จรูปทั่วไป ส่วนผักก็มีเพียงคะน้า กะหล่ำปลี แตงกวา มะเขือเทศ มะเขือเปราะ ผักบุ้ง อาจจะแถมกะเพราซึ่งเป็นรายการยอดฮิต หรือบางคนเรียกว่าเมนูสิ้นคิด คือ ข้าวราดผัดกะเพราไข่ดาว แต่ก็มีกะเพราไม่กี่ใบเท่านั้น และได้กินผักครั้งละ ๑_๒ ชนิดเท่านั้น ...
  • บริโภคเนื้อสัตว์อย่างไรให้ปลอดภัย(ตอน ๒)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 308 ธันวาคม 2547
    ท่านผู้อ่านคงได้ทราบถึงการบริโภคเนื้อสัตว์ในปริมาณที่เหมาะสมไปแล้ว และก็ต้องคำนึงถึงคุณภาพและความปลอดภัย ด้วย การที่จะบริโภคอาหารที่มาจากเนื้อสัตว์ก็คงต้องมีการปรุง ประกอบอาหารให้เนื้อสัตว์ชนิดต่างๆ เหล่านั้นให้สุกก่อนกิน แต่กระบวนการปรุงอาหาร เช่น การปิ้งย่าง รมควัน จนอาหารเหลืองกรอบและไหม้เกรียมจะทำให้เกิดสารที่จะมีอันตรายต่อร่างกายได้ รวมทั้งผลิตภัณฑ์ที่มาจากเนื้อสัตว์ประเภทต่างๆ ...
  • ฟันผุในเด็กเล็ก

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 308 ธันวาคม 2547
    ธรรมชาติคนเรามีฟัน ๒ ชุด คือชุดฟันแท้และชุดฟันน้ำนม ฟันน้ำนมมีความสำคัญไม่น้อยไปกว่าฟันแท้ เนื่องจากฟันน้ำนมเป็นฟันที่เด็กจะใช้งานไปเป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า ๕ ปี ก่อนที่จะเริ่มมีการขึ้นของฟันแท้ในปากอันที่จริงแล้ว กว่าฟันน้ำนมจะถูกแทนที่ด้วยฟันแท้ทั้งหมดเมื่อเด็กอายุประมาณ ๑๒ ขวบปัญหาที่สำคัญมากและผู้ใหญ่ยังไม่ให้ความสำคัญมากนักนั่นคือ ...
  • อยู่กับเบาหวานให้เป็นสุข ถ้ารู้จักกิน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 295 พฤศจิกายน 2547
    อยู่กับเบาหวานให้เป็นสุข ถ้ารู้จักกินถ้าชีวิตเลือกได้คงไม่มีใครอยากเป็นเบาหวาน แต่ถ้าเป็นเบาหวานแล้วก็ถือเสียว่าได้เพื่อนใหม่ ซึ่งคุณสามารถมีชีวิตได้อย่างปกติและมีความสุขได้เหมือนคนทั่วๆ ไป เพียงแต่เมื่อได้เพื่อนเบาหวานมาแล้ว ควรปฏิบัติตนให้เหมาะสมด้วยการมีวินัยในการดูแลตนเอง เพิ่มความใส่ใจในเรื่องอาหารการกิน และรู้จักออกกำลังกายให้เหมาะสม ...
  • บริโภคเนื้อสัตว์อย่างไรให้ปลอดภัย (ตอน ๑)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 307 พฤศจิกายน 2547
    ทุกคนคงคุ้นเคยกับข้อแนะนำเกี่ยวกับการกินอาหารที่ว่า "ควรกินอาหารให้ครบ ๕ หมู่ เพื่อให้ได้สารอาหารอย่างครบถ้วนในปริมาณที่เหมาะสม" ดูเหมือนจะง่ายๆ แต่ในทางปฏิบัติก็ต้องมีหลักการอยู่เหมือนกัน โดยในปัจจุบันจะยึดหลักของธงโภชนาการซึ่งเป็นเครื่องมือที่จะช่วยอธิบายถึงวิธีการกินอาหารในสัดส่วนที่เหมาะสม มีสัญลักษณ์รูปธงสามเหลี่ยมแบบแขวน โดยฐานใหญ่ด้านบนเน้นให้กินมาก ...
  • อาหารต้านอนุมูลอิสระ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 306 ตุลาคม 2547
    อาหารต้านอนุมูลอิสระก่อนจะเข้าไปในรายละเอียดของอาหารต้านอนุมูลอิสระ ควรทำความเข้าใจคำว่า ออกซิเดชัน และอนุมูลอิสระเสียก่อน ออกซิเดชัน เป็นคำในภาษาทางเคมี หมายถึงการที่สารใดๆ ทำปฏิกิริยากับออกซิเจนซึ่งเป็นแก๊สหรือธาตุที่มีพลังงานในตัวเองสูง โมเลกุลของออกซิเจนบางชนิดเมื่อเข้าทำปฏิกิริยากับสารชีวโมเลกุลในร่างกาย (โครโมโซม โปรตีน กรดอะมิโน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต) ...
  • ฝึกมือให้ใช้งานได้ สำหรับผู้มีอาการอัมพฤกษ์ครึ่งซีก

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 293 กันยายน 2547
    ฝึกมือให้ใช้งานได้ สำหรับผู้มีอาการอัมพฤกษ์ครึ่งซีกหลังจาก ๒ สัปดาห์ที่ท่านมีอาการที่เรียกกันว่า อัมพฤกษ์ครึ่งซีก (hemipareis) ท่านยกและ กางแขนได้บ้าง แต่มือท่านยังอ่อนแรงอยู่ ไม่สามารถใช้มือข้างนั้นให้ทำหน้าที่เหมือนเดิมได้ ท่านสามารถฝึกมือข้างนั้นให้ทำงานได้ ด้วยข้อแม้ว่า ท่านต้องเหยียดนิ้วมือได้บ้างไม่ใช่งอนิ้วกำมือได้อย่างเดียวหลักการอาการอ่อนแรงครึ่งซีกของร่างกาย ...
  • «
  • ‹
  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
  • 6
  • 7
  • 8
  • 9
  • …
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • บทบรรณาธิการ
  • บทสัมภาษณ์พิเศษ
  • บนเส้นทางชีวิต
  • บริหารกายคลายปวดเมื่อย
  • บริหารร่างกาย
  • บอกเล่าเก้าสิบ
  • บันทึกการเดินทาง
  • บันทึกจากผู้อ่าน
  • บันทึกสุขภาพดีทั่วหน้า
  • บันทึกเวชกรรม
  • บุคลิกภาพ
  • ประสบการณ์รอบทิศ
  • ปริศนาคลินิก
  • ปรึกษาปัญหาสุขภาพ
  • ปัจฉิมพากย์
  • ‹‹
  • 5 จาก 14
  • ››

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa