-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
272
ธันวาคม 2544
ตำแหน่งร่องจมูก (บริเวณร่องระหว่างจมูกกับริมฝีปากด้านบน) ตามตำราการดูโหวงเฮ้ง เป็นตำแหน่งของอายุในวงโคจร51 ปี เรียกว่า เหยินจง (ภาษาแต้จิ๋วเรียก หยิ่งตง)ตำแน่งนี้เป็นที่รวมของแม่น้ำทั้ง4 สาย ซึ่งเป็นบ่อเกิดแห่งพลังธาตุน้ำ เป็นตัวรวมพลังทั้งหลายลงสู่ทะเล คือ ปาก บ่งบอกถึง ทายาท บุตร ผลงานจากการกระทำ การสืบทอดทั้งในแง่เจตนารมณ์ ผลงาน ความสำเร็จ การปฏิบัติภารกิจ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
271
พฤศจิกายน 2544
“ คุณหมอครับ ทำไมผมเหงื่อออกมากจังเลย บางครั้งอยู่ในห้องปรับอากาศเหงื่อก็ยังออกเลย ผมเป็นโรคอะไรครับ ” “ คุณหมอคะ ทำไมลูกดิฉันนอนหลับกลางคืน เหงื่อออกเต็มตัวเลย ” “ คุณหมอคะ ทำไมดิฉันเหงื่อออกง่ายจัง ทำอะไรนิดหน่อยเหงื่อก็จะออก ดิฉันรู้สึกเหนื่อยง่ายจังเลย ”แพทย์แผนจีนถือเอาเหงื่อเป็นประเด็นสำคัญประเด็นหนึ่งในการถามเกี่ยวกับภาวะสมดุลของร่างกาย ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
269
กันยายน 2544
ที่กล่าวว่ายาบำรุงเซ็กซ์เป็นส่วนหนึ่งของยาบำรุงหยาง เนื่องจากยาบำรุงหยางมักเกี่ยวข้องกับระบบสืบพันธุ์ ระบบความร้อนของร่างกาย ยาส่วนใหญ่จึงนำมาสร้างสมดุลของร่างกาย แล้วจึงส่งผลถึงการ รักษาภาวะเสื่อมถอยของสมรรถภาพทางเพศ เช่น การหลั่งเร็ว อวัยวะเพศไม่แข็งตัว ฝันเปียกในฉบับนี้จึงขอกล่าวถึงสมุนไพร บำรุงหยางที่รู้จักและใช้กันบ่อยๆ ได้แก่ ตู้จ้งหรือเต่าต๋ง ปู่กู่จื่อ โย่วฉงหยง ลู่โหยงหรือเขากวางอ่อน ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
268
สิงหาคม 2544
ไม่กี่เดือนมานี้มีข่าวฮือฮาเกี่ยวกับยาชะลอความแก่ ยาบำรุงสมรรถภาพทางเพศ โดยการกล่าวถึงเขากวางอ่อน ซึ่งมีฤทธิ์ กระตุ้นการหลั่งฮอร์โมนทางเพศ และทำให้ร่างกายแก่ตัวช้าลง กระปรี้กระเปร่า ในทัศนะแพทย์จีนเรื่องเหล่านี้ เกี่ยวข้องกับระบบไตยิน ไตหยาง ที่ควบคุมระบบการสืบพันธุ์ การเจริญเติบโต การเสื่อมถอยของร่างกาย ซึ่งครอบคลุมถึงระบบฮอร์โมนต่างๆ เช่น ต่อมใต้สมอง ต่อมไทรอยด์ ต่อมเพศ ต่อมหมวกไต ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
267
กรกฎาคม 2544
เวลาไปพบแพทย์แผนตะวันตก (ปัจจุบัน) หลังจากเราบอกอาการและปัญหาต่างๆ กับแพทย์ แพทย์ก็จะตรวจร่างกายด้วยวิธีการง่ายๆ ตั้งแต่ดูด้วยตา คลำ เคาะด้วยมือ แล้วใช้ฟังด้วยหูฟัง บางครั้งต้องส่งไปตรวจเลือด ตรวจปัสสาวะ เอกซเรย์ ฯลฯ เพื่อหาสาเหตุในการวินิจฉัยโรค วิชาแพทย์แผนตะวันออกจีนโบราณ ก็มีหลักการตรวจวินิจฉัยโรคโดยเน้นที่การใช้ประสาทสัมผัสทั้ง5 ซึ่งมีด้วยกัน4 วิธี 1. การมองดู : ใช้ตา 2. ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
266
มิถุนายน 2544
ความรู้สึกเป็นไข้ตอนบ่าย ร้อนบริเวณแก้ม เหงื่อออก เวลากลางคืน ร้อนฝ่ามือ ฝ่าเท้า และบริเวณทรวงอก ปากคอแห้ง ลิ้นแดง ฝ้าบนลิ้นน้อย หรือลิ้นเลี่ยน ชีพจรเบาเร็ว อาการเหล่านี้คนจีนเรียกว่า อิมฮือ อิมฮือ หมายถึง ภาวะเลือด ภาวะยินพร่อง ที่รวมถึงสารจิงไม่พอ เสียสารน้ำในร่างกาย ทำให้เกิดภาวะยินไม่สามารถควบคุมหยาง เกิดอาการแสดงออกของ ยินพร่อง มีความร้อนภายในร่างกาย (เนื่องจากหยางในร่างกายแกร่ง ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
251
มีนาคม 2543
ท้องผูกเรื้อรังในทัศนะแพทย์แผนจีนผู้ป่วย : "คุณหมอครับ ผมถ่ายอุจจาระลำบากมากครับ ปกติ ๒-๓ วันถึงจะถ่ายสักครั้ง ระยะหลังบางครั้ง ๕-๖ วัน ถึงจะถ่ายสักครั้ง เวลาถ่ายก็ต้องเบ่งมากเลย คุณหมอช่วยผมหน่อยครับ"หมอจีน : "อุจจาระแข็งหรือเหลวครับ"ผู้ป่วย :"แข็งมากครับ"หมอจีน : "คุณดื่มเหล้า, สูบบุหรี่ หรือเปล่า"ผู้ป่วย ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
250
กุมภาพันธ์ 2543
ไข่มุก มหัศจรรย์แห่งความงามพูดถึง "ไข่มุก" เรามักจะคิดถึงเรื่องความสวยความงาม ไม่ว่าจะเป็นเครื่องประดับที่สวยงามส่องแสงสะท้อนจากสายสร้อยคล้องคอหรือคล้องมือ หรือบางคนอาจคิดถึงเครื่องสำอางที่มีส่วนประกอบของไข่มุกที่ใช้ทาบนใบหน้าแล้วทำให้ผิวสวยเนียน อ่อนนุ่ม ถนอมผิวพรรณ ความจริงไข่มุกมีคุณสมบัติทางยาสมุนไพรจีนที่มีการบันทึกมานาน ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
248
ธันวาคม 2542
แผลร้อนใน : เป็นๆหายๆทำอย่างไรดีผู้ป่วยไปพบแพทย์เวรที่โรงพยาบาลเพื่อตรวจรักษาโรคคนไข้ :"คุณหมอคะ ดิฉันมีปัญหาเรื่องเป็นแผลในปาก เป็นร้อนในบ่อยจังเลย เป็นๆหายๆ ไม่หายขาดเสียที"หลังจากตรวจช่องปากคนไข้แพทย์ :"คุณเป็นแผลร้อนใน ไม่ต้องตกใจ โรคนี้ทางการแพทย์เรียก แผลแอฟทัส (Aphthous ulcer) สาเหตุที่แท้จริงไม่แน่ชัด เชื่อว่า ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
247
พฤศจิกายน 2542
โรคกลืนไม่เข้า คายไม่ออกคนไข้ :"คุณหมอครับ ผมรู้สึกมีอาการจุกแน่นในคอ บริเวณทรวงอกเหมือนมีอะไรจุกอยู่ จะกลืนก็ไม่เข้า คายก็ไม่ออก"แพทย์จีน :"คุณเคยไปตรวจรักษามาก่อนไหม"คนไข้ :"ผมเคยเอกซเรย์มาแล้วที่โรงพยาบาล หมอเคยส่องกล้องผ่านลำคอเข้าไปดูในกระเพาะอาหาร ไม่พบความผิดปกติอะไร หมอให้ยาขับลมและยาคลายเครียดมากิน อาการก็ดีขึ้นบ้างแต่ไม่มาก ...