เวชปฏิบัติปริทัศน์ (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)
-
วารสารคลินิก
239
พฤศจิกายน 2547
บทนำวัยหมดระดูเป็นช่วงเวลาที่มีการเปลี่ยนแปลงหลายอย่างทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจโดยมีความสัมพันธ์กับการทำงานลดลงของรังไข่. แม้ว่าจะเป็นการเปลี่ยนแปลงตามธรรมชาติ แต่ก็อาจก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพในสตรีบางราย โดยในช่วงแรกจะมีระดูผิดปกติ อาการ vasomotor และอาการทางด้านจิตใจ ต่อมาจะมีอาการจากการเสื่อมถอยของ อวัยวะระบบสืบพันธุ์ และระบบขับถ่ายปัสสาวะ. ส่วนในระยะยาว ...
-
วารสารคลินิก
238
ตุลาคม 2547
ความสำคัญของการดูแลรักษาก้อนที่ตับต้องแยกให้ได้ว่าเป็นเนื้องอกไม่ร้ายแรง (benign) หรือเป็นมะเร็ง (malignant) ซึ่งต้องอาศัยข้อมูลเพื่อช่วยในการวินิจฉัย ได้แก่ ประวัติการเจ็บป่วย เช่น การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีหรือซี (chronic hepatitis B or C infection) ภาวะตับแข็ง, การตรวจร่างกาย,การตรวจทางห้องปฏิบัติการ เช่น การตรวจหน้าที่, การทำงานของตับ tumor marker (alpha-feto-protein, CEA, CA ...
-
วารสารคลินิก
238
ตุลาคม 2547
ผลข้างเคียงข้อแทรกซ้อนที่รุนแรงที่สุดคือ teratogenicity พบว่าลักษณะผลข้างเคียงของ systemic retinoids (ตารางที่ 2) คล้ายคลึงกับลักษณะพิษของวิตามินเอ หรือกลุ่มอาการ hypervitaminosis A อาจแบ่งผล ข้างเคียง (type I) และลักษณะพิษทาง systemic (type II) ดังตารางที่ 3. พิษเฉียบพลันของ retinoid รวม ถึงรอยโรคทาง mucocutaneous (ในผู้ป่วยส่วนใหญ่) และความผิดปกติทางห้องปฏิบัติการ (พบได้น้อยกว่า ...
-
วารสารคลินิก
237
กันยายน 2547
การดื่มสุราทำให้เกิดปัญหาสำคัญทั้งทางสาธารณสุขและสังคมในประเทศไทย ปัญหาจากสุรา อาจจะเกิดขึ้นได้หลังจากการดื่มเพียงครั้งเดียว หลายครั้ง หรือในผู้ที่ติดสุราเรื้อรังก็ได้. การดื่มสุรามีผลต่อสุขภาพของผู้ดื่มโดยตรง เช่น ทำให้เป็นโรคตับและทางเดินอาหาร โรคเกี่ยวกับประสาทสมอง และเป็นปัจจัยเสี่ยงของมะเร็งของอวัยวะต่างๆ นอกจากนั้นยังเกี่ยวข้องกับอุบัติเหตุต่าง ๆ เช่น อุบัติเหตุจราจรบนท้องถนน ...
-
วารสารคลินิก
237
กันยายน 2547
จากข้อมูลขององค์การอนามัยโลกระบุว่า การดื่มสุราก่อผลกระทบด้านลบต่อชีวิต อีกทั้งทำให้มนุษย์อายุสั้นยิ่งกว่าการสูบบุหรี่และเป็นสาเหตุของโรคและการบาดเจ็บมากกว่า 60 ชนิด. ในปี พ.ศ. 2545 ประชากรโลกเสียชีวิตเพราะสาเหตุจากสุรามากกว่ายาเสพติด โดยคิดเป็นร้อยละ 5 ของการเสียชีวิตในประชากรวัย 15-29 ปี หรือจำนวนประชากรประมาณ 1.8 ล้านคนในปีเดียวกัน และจากยอดจำนวนตัวเลขอุบัติเหตุที่เพิ่มขึ้นในปัจจุบันนี้ 1 ...
-
วารสารคลินิก
237
กันยายน 2547
แอลกอฮอล์เป็นสารที่ได้จากการเปลี่ยนแปลงของแป้งหรือน้ำตาลโดยจุลินทรีย์ เป็นสารที่สามารถเกิดขึ้นเองโดยธรรมชาติ. มนุษย์ได้ค้นพบสารแอลกอฮอล์และได้นำมาใช้เป็นเครื่องดื่มมีการบันทึกไว้มากกว่า 3,000 ปีแล้ว. แอลกอฮอล์เป็นเครื่องดื่มซึ่งทำให้เกิดความสนุกสนาน ครึกครื้น แต่ทำให้สติสัมปชัญญะลดลง ตลอดจนแอลกอฮอล์มีผลเสียต่อร่างกาย. ผลเสียของแอลกอฮอล์เป็นที่ทราบกันดีและได้ถูกบัญญัติไว้ในศีล 5 ...
-
วารสารคลินิก
237
กันยายน 2547
บทนำปัญหาสุขภาพที่สัมพันธ์กับการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ผสมอยู่มีมากมายส่งผลกระทบต่อตัวผู้ป่วย ครอบครัวและสังคมอย่างมาก. การดูแลรักษาผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวข้องกับแอลกอฮอล์ของโรงพยาบาลส่วนใหญ่จำกัดอยู่เพียงการบำบัดภาวะแทรกซ้อนในระยะเฉียบพลัน เมื่ออาการดีขึ้นก็ถือว่าจบภารกิจ อาจจะมีการติดตามผู้ป่วยเป็นระยะแต่ก็เป็นการติดตามเฉพาะปัญหาทางร่างกายที่เกี่ยวข้อง ...
-
วารสารคลินิก
237
กันยายน 2547
ประโยชน์ทางคลินิก (ตารางที่ 1) Psoriasis Retinoids ที่จัดเป็นทางเลือกแรกในการรักษา psoriasis ชนิดที่นำมาใช้ได้แก่ etretinate และ acitretin. Acitretin มีประสิทธิภาพเท่ากับ etretinate ...
-
วารสารคลินิก
239
พฤศจิกายน 2546
แผลที่เท้าของผู้ป่วยโรคเบาหวาน พบได้ร้อยละ 15 ของผู้ป่วย และเป็นสาเหตุนำสำคัญที่ทำให้ผู้ป่วยต้องพักรักษาอยู่ในโรงพยาบาล และใช้เวลาในการรักษานาน. ร้อยละ 12-24 ของผู้ป่วยเบาหวาน ซึ่งมีแผลที่เท้าจะต้องถูกตัดนิ้วเท้าหรือขาในที่สุด. ในประเทศสหรัฐอเมริกา พบว่า มากกว่าร้อยละ 50 ของผู้ป่วยที่ต้องถูกตัดขาทิ้งเกิดจากการบาดเจ็บและแผลเบาหวานที่เท้า.1 ...