Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » รายชื่อนักเขียน » กวี คงภักดีพงษ์

กวี คงภักดีพงษ์

  • โยคะสำหรับโรคทั่วๆไป :ปวดหลัง

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 278 มิถุนายน 2545
    โยคะสำหรับโรคทั่วๆไป :ปวดหลังวิทยาการของมนุษย์ก้าวหน้าอย่างรวดเร็วเอื้อประโยชน์ให้เราเป็นอันมาก แต่ทุกสิ่งทุกอย่างก็มีข้อเสีย ความก้าวหน้าทางการแพทย์อาจทำให้เราเผลอมองชีวิตแบบแยกส่วน ในชั้นเรียนโยคะเบื้องต้น คำถามที่เจอบ่อยมากคือ "ดิฉันปวดหลัง ทำท่าโยคะไหนดี?" ...
  • โยคะสำหรับโรคทั่วๆไป : ปวดหลัง

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 276 เมษายน 2545
    การยืนตัวตรงถือได้ว่า เป็นวิวัฒนาการที่สำคัญมากของความเป็นมนุษย์ การที่มนุษย์ยืนตัวตรงได้ส่วนหนึ่งเป็นเพราะลักษณะของกระดูกสันหลัง ที่ทำให้เราสามารถเลี้ยงตัวตรงอยู่ได้อย่างสมดุล อีกส่วนหนึ่ง คือ การเกร็งตัวเล็กน้อยของกล้ามเนื้อหลังเพื่อพยุงตัวเราให้ตั้งตรง หากกล้ามเนื้อต้องเกร็งตัวมากต่อเนื่องกันเป็นเวลานาน ก็อาจส่งผลให้เกิดการปวดหลังผู้ปวดหลังโดยมีสาเหตุจากการเครียดหรือจากการบาดเจ็บเล็ก ๆ น้อย ...
  • ใครคือผู้ฝึกโยคะ ในประเทศตะวันตก

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 275 มีนาคม 2545
    คนฝึกโยคะเพราะเขารู้สึกไม่สบาย และรู้สึกบางอย่างขาดหายไป มันอาจเป็นสุขภาพ หรืออาจเป็นเพราะกำลังมองหาอะไรบางอย่าง แต่ไม่แน่ใจว่าหาอะไรต่อไปนี้เป็นบทสัมภาษณ์ระหว่าง เดสิคชา ครูสอนโยคะแห่งอินเดีย กันคุณหมอโดลแมน แพทย์แผนตะวันตกชาวเยอรมันที่ใช้โยคะบำบัดรักษาคนไข้-แม้ชาวอินเดียยังรู้สึกว่าฝีกทำเหล่านี้ได้ยาก แล้วคนตะวันตกที่ไม่เคยชินแม้กับการนั่งบนพื้น ...
  • ใครคือผู้ฝึกโยคะในประเทศตะวันตก

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 274 กุมภาพันธ์ 2545
    มีการศึกษาพบว่า ชาวเยอรมัน 1 ใน 10 คน ฝึกโยคะ นี่ไม่ได้หมายความว่าคนเหล่านั้นผึกโยคะทุกวัน แต่หมายความว่าพวกเขาเคยฝึกปฏิบัติโยคะเพราะเขารู้สึกไม่สบาย และรู้สึกว่าบางอย่างขาดหายไป มันอาจเป็นปัญหาสุขภาพ หรืออาจเป็นเพราะพวกเขากำลังมองหาอะไรบางอย่าง แต่ไม่แน่ใจต่อไปนี้เป็นบทสัมภาษณ์ระหว่าง เดสิคซา ครูสอนโยคะแห่งอินเดีย กับคุณหมอโดลแมน แพทย์แผนตะวันตก ...
  • ใครคือผู้ฝึกโยคะในประเทศตะวันตก

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 273 มกราคม 2545
    มีการศึกษาพบว่า ชาวเยอรมัน1 ใน 10 คน ฝึกโยคะนี่ไม่ได้หมายความว่าคนเหล่านั้นฝึกโยคะทุกวัน แต่หมายความว่าพวกเขาเคยฝึกโยคะคนฝึกโยคะเพราะเขารู้สึกไม่สบาย และรู้สึกบางอย่างขาดหายไป มันอาจเป็นปัญหาสุขภาพ หรืออาจเพราะพวกเขากำลังมองหาอะไรบางอย่าง แต่ไม่แน่ใจต่อไปนี้เป็นบทสัมภาษณ์ระหว่าง เดลิคซา ครูสอนโยคะแห่งอินเดีย กับคุณหมอโดลแมน แพทย์แผนตะวันตก ...
  • จากหมอมาสู่ครูโยคะ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 272 ธันวาคม 2544
    โยคะในฐานะที่เป็นปรัชญา ในฐานะที่เป็นแนวทางปฏิบัตินำเราไปสู่การมองชีวิตในหลายๆ แง่มุม และค่อยๆทำให้เราตระหนักรู้ความจริงที่ว่า ทางออกของปัญหาทางกายและจิตนั้นอยู่ในตัวเราเองต่อไปนี้เป็นบทสัมภาษณ์ระหว่าง เดสิคชา ครูสอนโยคะที่มีชื่อเสียงแห่งอินเดียว กับ คุณหมอ โดลแมน แพทย์แผนตะวันตก ชาวเยอรมันที่ใช้โยคะบำบัดในการรักษาคนไข้ เนื้อหาว่าด้วยคุณประโยชน์ของโยคะในกระบวนการรักษาคนไข้ ...
  • โยคะสำหรับโรคทั่วๆไป

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 271 พฤศจิกายน 2544
    โรค เกิดขึ้นได้ทั้งต่อกลไกการทำงานของร่างกายและทางด้านชีวภาพ โรคที่เกิดขึ้นต่อกลไกการทำงานของร่างกายในที่นี้ รวมถึงความผิดปกติของระบบภายใน รวมถึงปัญหาอันมีสาเหตุมาจากจิต มาจากความเครียด โรคเหล่านี้สามารถรักษาให้หายขาดได้ด้วยโยคะโดยเฉพาะโรคที่มีสาเหตุพื้นฐานมาจากจิต โยคะสามารถช่วยให้เราจัดการกับความป่วยไข้เหล่านี้ในระดับต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นการปรับปรุงคุณภาพชีวิต และกระทั่งการยืดอายุให้ยืนยาวขึ้น ...
  • โยคะ สำหรับผู้มีปัญหาที่ไหล่

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 270 ตุลาคม 2544
    บรรพบุรุษของมนุษย์อาศัยอยู่บนต้นไม้ เคลื่อนไหวโดยใช้แขนและไหล่ในการห้อยกิ่งไม้ตลอดเวลา ธรรมชาติจึงออกแบบไหล่ให้สามารถเคลื่อนไหวได้โดยอิสระ สามารถหมุนไหล่ได้เกือบรอบทิศไหล่ประกอบด้วย กลุ่มข้อต่อย่อย5 ชิ้น เกาะกันไว้ห่าง ๆ เพื่อให้สามารถเคลื่อนไหวได้มาก (โดยมีเอ็นมารัดรอบข้อใหม่อีกข้อหนึ่ง) เบ้าไหล่บริเวณกระดูกต้นแขนนั้นเป็นแอ่นที่ตื้นมาก และด้วยลักษณะทางธรรมชาติเช่นนี้ ...
  • โยคะสำหรับผู้มีปัญหาที่ี่เข่า

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 269 กันยายน 2544
    เข่าเป็นข้อที่มีลักษณะการเคลื่อนไหวคล้ายบานพับ เข่าประกอบด้วย ท่อนล่างของกระดูกต้นขา ท่อนบนของกระดูกหน้าแข้ง ที่ส่วนปลายของกระดูกทั้งสองเป็นกระดูกอ่อน ซึ่งช่วยรับน้ำหนักและลดการเสียดสีขณะเคลื่อนไหว ทั้งมีกระดูกอ่อนอีกสองชิ้นเป็นแผ่นรอง คอยทำหน้าที่เหมือนโชกอัพรับแรงกระแทก นอกจากนั้น ยังมีกระดูกสะบ้าอีก1 ชิ้น อยู่บริเวณด้านหน้าของเข่า ข้อเข่าก็เหมือนข้ออื่นๆ คือ ...
  • โยคะ สำหรับผู้มีปัญหาหลังและข้อ หมอนรองกระดูกหลังส่วนล่างเคลื่อน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 268 สิงหาคม 2544
    กล้ามเนื้อหลังและกล้ามเนื้อหน้าท้องที่ทำหน้าที่พยุงกระดูกสันหลัง ความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อคือตัว รับแรงกระแทก (โช้กอัพ) ที่ดี สติในการเคลื่อนไหวอย่างเหมาะสมเป็นสิ่งสำคัญ เพื่อให้เกิดความสมดุลของกล้ามเนื้อ ทั้งในขณะหดตัว เหยียดตัว และผ่อนคลายหมอนรองกระดูก คือ กระดูกอ่อนชั้นกลางระหว่างกระดูกสันหลัง ทำหน้าที่เป็นตัวรับแรงกระแทก สาเหตุที่ทำให้หมอนรองกระดูกมีปัญหามาจากอิริยาบถผิดท่า อายุขัย ...
  • «
  • ‹
  • …
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
  • 6
  • 7
  • 8
  • 9
  • 10
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • นักเขียนหมอชาวบ้าน
  • นักเขียนรับเชิญ
ก ข ค ง จ ฉ ช ซ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ศ ส ห อ ฮ y

บทความเฉพาะเรื่อง

  • บทความเฉพาะเรื่อง

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)< และสถาบัน ChangeFusion< พัฒนาระบบโดย Opendream< สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa <