Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » รายชื่อนักเขียน » สุกาญจน์ เลิศบุศย์

สุกาญจน์ เลิศบุศย์

  • กระดูกสันหลัง : แกนหลักของร่างกาย

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 179 มีนาคม 2537
    กระดูกสันหลัง : แกนหลักของร่างกาย ครั้งหนึ่งเคยได้ยินคนทั่วไปเขากล่าวยกย่องชาวนาเอาไว้ว่า “ชาวนาเปรียบเสมือนกระดูกสันหลังของชาติ (ไทย)” เพราะชาวนาคือแกนหลักของกลุ่ม ผู้ผลิตอาหารเลี้ยงคนทั้งประเทศ รวมไปถึงเพื่อนร่วมโลกด้วยเหตุที่มีการเปรียบไว้เช่นนั้น คงเป็นเพราะกระดูกสันหลังถือได้ว่า เป็นแกนหลักของร่างกายเช่นเดียวกันกระดูกสันหลัง (spine) เป็นแนวกระดูกที่ทอดอยู่ทางหลังของร่างกาย ...
  • กะโหลกศีรษะ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 178 กุมภาพันธ์ 2537
    กะโหลกศีรษะเห็นภาพที่นำมาประกอบแล้วบางท่านอาจจะนึกกลัวอยู่ (นิดๆ)ในใจ ด้วยว่าภาพที่เห็นนี้มักจะถูกนำมาเป็นสัญลักษณ์แทนความกลัว อาทิ ภาพยนตร์ประเภทสยองขวัญอยู่เสมอๆ แต่อย่าไปกลัวเลยค่ะ เพราะเราทุกคนก็ต้องมีกะโหลกแบบนี้เป็นส่วนประกอบเหมือนกันทั้งนั้น ต่างกันก็แต่ว่าตอนที่ยังมีชีวิตอยู่นี้ เรามีกล้ามเนื้อผิวหนังห่อหุ้มอยู่จึงดูสวยงาม แต่ครั้นเมื่อตายไปแล้ว เนื้อหนังเน่าเปื่อยไป ...
  • ช่องท้องและช่องอก

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 177 มกราคม 2537
    ช่องท้องและช่องอกโลกของเทคโนโลยียุคนี้ก้าวไปไกลมาก ความเชื่อที่ว่าปรากฏการณ์บางอย่างเป็นอิทธิฤทธิ์เหนือจริงของคนรุ่นบรรพบุรุษเรา เช่น การมีหูทิพย์ ตาทิพย์ ได้กลายมาเป็นจริงแล้วในวันนี้เมื่อเรามีโทรศัทพ์ที่สามารถติดต่อสื่อสารถึงกันจากคนละมุมโลกได้ เรามีดาวเทียมที่สามารถส่งภาพจากซีกโลกหนึ่งไปยังอีกซีกโลกหนึ่งได้เมื่อเป็นเช่นนี้ ...
  • เลือด

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 176 ธันวาคม 2536
    เลือดอาจกล่าวได้ว่า เลือดดุจเป็นพลังงานแห่งชีวิต เป็นของเหลวที่หล่อเลี้ยงให้ทุกชีวิตดำรงสภาพความเป็นอยู่อย่าง ‘สิ่งมีชีวิต’ ได้ เลือดจัดเป็นเนื้อเยื่อสัมพันธ์ชนิดหนึ่งซึ่งมีสารระหว่างเซลล์เป็นของเหลว สำหรับสีของเลือดนั้น เลือดที่อยู่ในหลอดเลือดดำ จะมีสีแดงเข้มมากกว่าเลือดที่อยู่ในหลอดเลือดแดง ส่วนรส ...
  • ฟ.ฟันสะอาดจัง (ตอนจบ)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 174 ตุลาคม 2536
    ฟ.ฟันสะอาดจัง (ตอนจบ)หากวันนี้ใครก็ตามที่จำเป็นต้องใช้ฟันปลอม อาจนึกเสียดายวันเวลาที่ผ่านไปสมัยที่ยังมีฟันอยู่ครบ ถ้าในวันนั้นหมั่นถนอมดูแลรักษาความสะอาดฟันอย่างดี ฟันของเราคงไม่ “เว้นวรรค” ให้ต้องช้ำใจอยู่จนถึงทุกวันนี้หรอกอันที่จริงการหลุดร่วงของฟันถือเป็นธรรมชาติอย่างหนึ่งของร่างกาย โดยเฉพาะฟันน้ำนม เมื่อถึงเวลาก็ต้องหลุดร่วงไปเพื่อให้ฟันแท้ขึ้นมาทำหน้าที่แทน ...
  • เจ เข้าสู่เทศกาลล้างกายและใจ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 174 ตุลาคม 2536
    เจ เข้าสู่เทศกาลล้างกายและใจในช่วงราวเดือนตุลาคมของทุกๆ ปี ซึ่งปีนี้ตกประมาณกลางเดือน ถือเป็นวาระ “เทศกาลถือศีลเจ” หรือที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า “เทศกาลกินเจ” ได้เวียนมาเยือนอีกครั้ง ตามตึ้งหรือโรงเจของคนจีน ซึ่งมักอยู่ในย่าน “ไชน่าทาวน์” ก็เริ่มคลาคล่ำไปด้วยผู้คนทั้งจีนและไทย ...
  • โครงสร้างของฟัน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 173 กันยายน 2536
    โครงสร้างของฟันในบรรดาอวัยวะทั้งหมดของร่างกาย ส่วนที่ดูเหมือนว่าจะเรียกร้องความสนใจมากที่สุดเห็นจะไม่มีใครเกินเจ้า ‘ฟัน’ เป็นแน่ เพราะทุกๆ เช้าและก่อนนอน (บางคนหลังอาหารด้วย) ทุกคนจะต้องจัดการทำความสะอาดฟัน เพื่อไม่ให้มันมีโอกาสประท้วงด้วยวิธีที่ทำให้เกิดอาการเจ็บปวดจากโรคฟันผุ หรือส่งกลิ่นอันไม่น่าพิสมัย ...
  • เลียบเลาะเจาะดู ช่องทางเดินอาหาร

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 172 สิงหาคม 2536
    เลียบเลาะเจาะดู ช่องทางเดินอาหารใครหนอช่างเปรียบว่า ร่างกายมนุษย์ไม่ต่างจากโรงงานย่อยๆ หลายโรงรวมกันอยู่ในร่างเดียว ก็คงจะจริงอย่างเขาว่ากระมัง เพราะร่างกายเราจะมีส่วนที่เหมือนโรงงานผลิตหุ่นยนต์มนุษย์ ซึ่งน่ามหัศจรรย์มากดังที่ได้เคยกล่าวไว้แล้วในฉบับก่อนๆ แต่คราวนี้จะขอพูดถึงโรงงานบดอาหาร หรือการเข้าสู้ระบบย่อยอาหาร สำหรับใครบางคนที่รู้สึกว่าตนเองมีความสุขกับการกิน ...
  • กล้ามเนื้อใบหน้า

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 171 กรกฎาคม 2536
    กล้ามเนื้อใบหน้าหากใครเคยดูการประกวดเพราะกาย ไม่ว่าจะเป็นประเภทชายหรือหญิง จะสังเกตเห็นว่าผู้เข้าแข่งขันทุกท่านพยายามจะแสดงให้ผู้ชมโดยเฉพาะกรรมการเห็นว่า มัดกล้ามของเขา (เธอ) ทุกๆ มัดดูแข็งแรงและงดงามเพียงใด แต่ผู้ชมบางท่านดูแล้วอาจจะไม่นึกชื่นชมในความหล่อ (สวย) ล่ำเช่นนั้น ด้วยเห็นว่าเป็นความงามที่ออกจะมากเกินไปสักหน่อย แต่อย่างไรก็ตาม ...
  • ปฏิสนธิชีวิตใหม่ การเจริญเติบโตของตัวอ่อน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 170 มิถุนายน 2536
    ปฏิสนธิชีวิตใหม่ การเจริญเติบโตของตัวอ่อนหลายสิ่งหลายอย่างที่เกิดขึ้นในโลก บางครั้งผลของมันที่ออกมาก็ดูเหมือนง่ายดาย แต่แท้จริงแล้วกระบวนการเกิดของมันซับซ้อนยุ่งยาก เช่นเดียวกับกลไกการเกิดมนุษย์ที่ได้เคยกล่าวไว้บ้างแล้วในตอนก่อนๆ ท่านผู้อ่านบางท่านอาจจะนึกสงสัยอยู่ครามควัน เอ๊! เมื่อไหร่จะคลอดเสียทีนะ เดี๋ยวค่ะ...ใจเย็นๆ อดใจรออีกสักนิด ...
  • 1
  • 2
  • 3
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • นักเขียนหมอชาวบ้าน
  • นักเขียนรับเชิญ
ก ข ค ง จ ฉ ช ซ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ศ ส ห อ ฮ y

บทความเฉพาะเรื่อง

  • บทความเฉพาะเรื่อง

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa