-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
188
ธันวาคม 2537
ความดันต่ำไม่ใช่โรค“คุณหมอคะ ดิฉันมีอาการเวียนศีรษะหน้ามืดบ่อยๆ ไม่ทราบว่าใช่เป็นโรคความดันต่ำหรือเปล่าคะ” หญิงสาววัย ๓o เศษเอ่ยขึ้น“ส่วนมากจะมีอาการตอนไหน หรือขณะทำอะไรครับ” หมอซัก“มักจะเป็นอยู่วูบเดียวตอนลุกขึ้นนั่งหรือลุกขึ้นยืน พอตั้งหลักได้สักครู่ก็หาย แล้วก็ทำอะไรได้ปกติทุกอย่าง”หลังจากซักถามอาการต่างๆ ตรวจร่างกาย พร้อมทั้งวัดความดันเลือดเสร็จ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
184
สิงหาคม 2537
ต้อ4 จำพวก“คุณหมอครับ โรคต้อมีทั้งหมดกี่ชนิดด้วยกันครับ”คุณลุงเอ่ยขึ้น “ที่สงสัยก็เพราะว่าเมื่อเดือนก่อนลุงมีอาการตามัว ไปให้หมอตรวจ หมอบอกว่าเป็นโรคต้อกระจก แต่คุณป้าข้างบ้านผมเมื่อสัปดาห์ก่อนไปหาหมอด้วยอาการตามัวแบบผม หมอบอกว่าเป็นโรคต้อหิน โรคต้อทั้ง 2 ชนิดนี้เหมือนกันหรือต่างกันอย่างไรครับ”“แหม คุณลุงเล่นถามทีเดียวหลายข้อแบบนี้ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
182
มิถุนายน 2537
ปัญญาอ่อน – ดาวน์ซินโดรม(โรคที่เกิดจากมีแถบพันธุกรรมเกิน)“หมอรู้สึกเสียใจที่ตรวจพบว่าลูกชายของคุณเป็นโรคปัญญาอ่อน”ทารกน้อยหลังคลอดไม่ถึงเดือนหน้าตาแปลก ค่อนข้างนิ่งเฉย ไม่งอแง ดูเหมือนเด็กเลี้ยงง่าย คุณพ่อคุณแม่รู้สึกแปลกใจว่าผิดแผกจากเด็กอื่น จึงพามาปรึกษาหมอ“สายเลือดเราไม่มีใครเป็นโรคปัญญาอ่อนกันเลย ไม่อยากเชื่อว่าลูกของเราจะเป็นโรคนี้...” ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
181
พฤษภาคม 2537
ยีน-โครโมโซม-ดีเอ็นเอ(การพิสูจน์ความเป็นพ่อ-แม่-ลูก ตอนที่ 2)ตอนที่แล้วได้พูดจากันถึงความหมายของคำ 3 คำนี้สรุปโดยย่อ ก็คือ พันธุกรรมเปรียบเหมือนรหัสข้อมูลที่สามารถถ่ายทอดไปยังลูกหลาน ข้อมูลเหล่านี้แฝงอยู่ในโครโมโซม (chromosome) หรือแถบพันธุกรรม โครโมโซมแต่ละแถบจะประกอบด้วยยีน (gene) หรือลักษณะพันธุกรรมมากมาย และยีนแต่ละลักษณะประกอบด้วยสารดีเอ็นเอ (DNA) ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
180
เมษายน 2537
ยีน-โครโมโซม-ดีเอ็นเอ (ตอนที่ 1)ตอนก่อนๆ ได้พูดถึงเรื่องของโรคที่ถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์หรือพันธุกรรม ครั้งที่แล้วคอลัมน์นี้ได้หายหน้าหายตาไป เนื่องเพราะได้ยกเนื้อที่ให้กับ “เรียนรู้จากข่าว” เรื่อง “ลายพิมพ์ดีเอ็นเอ” ซึ่งก็เกี่ยวข้องกับเรื่องของพันธุกรรมเช่นเดียวกัน ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
177
มกราคม 2537
กรรมพันธุ์ - สายเลือด“คุณหมอครับ ลูกสาวผมเป็นโรคอะไรกันแน่ครับ เมื่อวานแม่เลี้ยงเขามาพบคุณหมอฟังคุณหมออธิบายเกี่ยวกับโรคที่ลูกสาวผมเป็น กลับไปบ้านโกรธผมมาก หาว่าเมื่อก่อนนี้ผมคงเที่ยวเก่งจนเลือดไม่ดี ติดให้ลูก ตอนนี้ภรรยาใหม่คนนี้ของผมกำลังตั้งครรภ์ ก็เป็นห่วงว่าจะได้เลือดไม่ดีจากผมอีก...” ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
175
พฤศจิกายน 2536
กะบังลมหย่อน“คุณหมอครับ วันก่อนเจอเพื่อนมาจากต่างจังหวัด เล่าให้ฟังว่าจะมาผ่าตัดมดลูก ที่โรงพยาบาล เจ้าตัวบอกว่า เป็นโรคกะบังลมหย่อนมาหลายปีแล้ว หมอจะผ่าตัดให้ก็กลัว ผัดผ่อนมาเรื่อย จนทนรำคาญเรื่องฉี่ราดบ่อยๆ ไม่ไหว คราวนี้จึงยอมมาผ่าตัด ผมฟังแล้วก็ยังไม่หายสงสัยว่ากะบังลมข้องอะไรกับมดลูกด้วย” ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
171
กรกฎาคม 2536
กากใย-ไฟเบอร์ : อาหารต่ออาหาร“เมื่อคราวก่อนคุณหมอพูดถึงผักและผลไม้ว่ามีประโยชน์ต่อร่างกายของเรา จึงอยากให้คุณหมอช่วยอธิบายเพิ่มเติมให้กระจ่างหน่อยเถอะครับ” นายแดงปุจฉาขึ้นมาอีกครั้ง“ข้อดีอันดับแรกสุด ก็คือ ผักและผมไม้ส่วนใหญ่กินมากเท่าไหร่ก็ไม่อ้วน เพราะให้พลังงานหรือแคลอรีน้อยมาก ไม่เหมือนอาหารพวกเนื้อ แป้ง น้ำตาล และไขมัน ที่ต้องกำจัดปริมาณให้พอเหมาะ” ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
170
มิถุนายน 2536
จั๊งฟู้ด-อาหารขยะ ฟาสต์ฟู้ด-อาหารแดกด่วน“คุณหมอครับ ลูกชายของผมชอบกินอาหารฝรั่งพวกแฮมเบอร์เกอร์ ไก่ทอด ที่นิยมขายตามห้างสรรพสินค้าเป็นประจำ ไม่ทราบว่าจะมีประโยชน์หรือโทษอย่างไรบ้างครับ?” นายแดงเปิดประเด็นขึ้นปุจฉากับคุณหมอ“แล้วคุณคิดว่าอย่างไรละ” คุณหมอย้อน“ประโยชน์คงมีแน่ คือ ได้เนื้อแป้งและไขมัน” นายแดงตอบ “แต่ผมก็ยังสงสัยว่า การกินอาหารจำพวกนี้มากๆ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
169
พฤษภาคม 2536
ไข้ทับระดู- ระดูทับไข้“คุณหมอคะ น้องสาวดิฉันที่คุณหมอฉีดยาแก้ไข้ไปเมื่อตะกี้นี้ พอกลับถึงบ้าน คุณแม่ดิฉันและเพื่อนบ้านต่างพูดใส่หูว่า เป็นไข้ทับระดู โบราณเขาห้ามฉีดยา ฉีดแล้วจะเป็นอันตรายน้องสาวตกใจหน้าซีดเลย ไม่ทราบว่าจะเป็นอะไรตามที่เขาว่าหรือเปล่าคะ?” ญาติคนไข้พาคนไข้กระหืดกระหอบกลับมาหาหมอหมอซักถามและตรวจดูอาการคนไข้ซ้ำอีกรอบ ...