-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
56
ธันวาคม 2526
ใช้วัตถุอะไรในการยึดตรึงกระดูกเนื่องจากร่างกายของคนเรามีคุณสมบัติในการขับและต่อต้านสิ่งแปลกปลอมทั่วไปที่ไม่ใช่ส่วนประกอบของตนเอง ดังนั้น เครื่องยึดตรึงกระดูกที่ใส่เข้าไปในร่างกาย จึงต้องเป็นวัสดุที่ร่างกายยอมรับและไม่เกิดปฏิกิริยาขับไล่ วัตถุพวกนี้ส่วนมากจะเป็นโลหะผสม เช่น ประกอบด้วย โครเมี่ยม โคบอล์ท และ มาลิบดีนั่ม เป็นต้นนอกจากคุณสมบัติดังกล่าวแล้ว ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
55
พฤศจิกายน 2526
หมอผ่าตัดกระดูก"หมอผ่าตัดกระดูก" ในสายตาของคนทั่วไป มักจะมีภาพพจน์ในลักษณะของ "ช่างกระดูก" ผู้ใช้สิ่วใช้ค้อน แถมบางทีการผ่าตัดต้องยกแขนยกขาใช้กำลังกันจนเป็นที่เข้าใจว่า หมอกระดูกต้องมีรูปร่างสูงใหญ่กำยำเสียอีกความจริงแล้ว งานผ่าตัดของหมอกระดูกถึงจะเป็นงาน "ช่าง" ก็ไม่จำเป็นต้องใช้กำลังอย่างที่คิดเพราะว่าการรักษาที่ต้องอาศัยกำลังเหล่านี้จะสำเร็จหรือไม่นั้น ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
41
กันยายน 2525
ปวดข้อเข่าเพราะข้อเสื่อม หมอ : สวัสดีครับป้า เชิญนั่งสิ เป็นไงมาล่ะครับคนไข้ : ปวดหัวเข่าค่ะ โอ๊ย ! มันทรมานเสียจริง ๆ นั่งนาน ๆ ก็ปวด เดินนาน ๆ ก็ปวด...หมอ :ขึ้นบันได ลงบันไดก็ปวด นั่งยอง ๆ คุกเข่า ขัดสมาธิหรือนั่งพับเพียบก็ปวดด้วย ใช่ไหมครับ นั่งนานหน่อยจะลุกที ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
38
มิถุนายน 2525
กระดูกหักกระดูกปลายแขนหัก⇒ ทำไมกระดูกหักต้องเลือกอายุ ?เราเคยได้คุยกันถึงเรื่อง “กระดูกต้นแขนส่วนปลายหักชนิดไม่ผ่านเข้าข้อศอก” ซึ่งพบได้บ่อยในเด็กวัยเข้าโรงเรียน คราวนี้จะมากล่าวถึงกระดูกหักอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งพบได้บ่อยทั้งในวัยเด็กและผู้ใหญ่ คือ กระดูกที่ “ปลายแขน”หัก นั่นเองท่านผู้อ่านอาจข้องใจว่าทำไมจะต้องมีการกำหนดว่ากระดูกหักพบบ่อยในช่วงอายุเท่านั้นเท่านี้ด้วย ? ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
21
มกราคม 2524
กระดูกหัก (ตอนที่ 4 )กระดูกปลายต้นแขนหัก ชนิดไม่ผ่านข้อศอกตั้งแต่ฉบับนี้เป็นต้นไป ผู้เขียนจะเริ่มนั่งจับเข่าเล่าถึงเรื่องราวของกระดูกหักตามตำแหน่งต่าง ๆ ของร่างกายที่ผู้เขียนประสบและได้เรียนรู้มาให้ “หมอชาวบ้าน” ทั้งหลายฟังเป็นตอน ๆ ไปจนกว่าจะเบื่อกันไปข้างหนึ่งชีวิตของผู้ประกอบวิชาชีพเป็นแพทย์เฉพาะทางแต่ละคนนั้น ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
18
ตุลาคม 2523
กระดูกหัก ( ตอนที่ 3 )ฉบับที่ 16 เราพูดถึงการจัดกระดูกให้เข้าที่ ฉบับนี้มาพูดถึงการตรึงกระดูกให้อยู่กับที่ เพื่อส่งเสริมให้รอยหักติดในตำแหน่งที่ต้องการ และในเวลาที่พอสมควรด้วย⇒ กระดูกหักจะตรึงให้อยู่กับที่ได้อย่างไร?วิธีที่ใช้กันทั่วไป แบ่งออกได้เป็น 3 ชนิด คือ1. การตรึงกระดูกโดยทางอ้อมหรือจากภายนอก ได้แก่ การใช้วัสดุแข็งดาม โดยวัสดุไมได้ยึดกับตัวกระดูกโดยตรง ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
16
สิงหาคม 2523
กระดูกหัก (ตอนที่ 2 )ฉบับก่อนเราได้คุยกันถึงความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโรคกระดูกหักไว้พอสมควรแล้ว ฉบับนี้เรามาลงมือทำการรักษากันสักทีกระดูกหักจะทำอย่างไรก่อน ?กระดูกเป็นของแข็ง เส้นเลือด เส้นประสาท และเนื้อเยื่ออื่น ๆ เป็นของอ่อน ดังนั้นเมื่อกระดูกหัก สิ่งแรกที่ควรทำก็คือ ต้องพยายามให้รอยหักอยู่นิ่ง ๆ ไม่ขยับเขยื้อนไปมา เพื่อเนื้อเยื่ออ่อนที่หุ้มมันอยู่จะได้ไม่ฉีกขาดเพิ่มขึ้น ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
15
กรกฎาคม 2523
กระดูกหัก (1)ในยุคที่คุณทวดในปัจจุบัน ยังเป็นเด็กชายหรือเด็กหญิงอยู่นั้น ปัญหาเรื่องกระดูกหักยังไม่เป็นที่พบกันได้บ่อยนัก เพราะสมัยโน้น ท่านยังไม่สามารถที่จะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูงเหมือนเดี๋ยวนี้ โอกาสที่จะปะทะกับกำลังอัดขนาดสูง ก็ย่อมเกิดขึ้นได้ยาก นอกจากว่าเด็กชายหรือเด็กหญิงคุณทวดนั้น ท่านจะอุตริปีนขึ้นที่สูงแล้วตกลงมา หรือไม่ก็โดนทำร้ายร่างกายจนกระดูกหักปัญหาจึงจะค่อยรุนแรงหน่อย ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
14
มิถุนายน 2523
หมอกระดูก กับโรคกระดูกคำว่า “หมอกระดูก” นั้น ชวนให้ผู้ฟังฟังแล้วไขว้เขวได้ 3 ประการประการแรก ก็คือว่า หมอกระดูกนั้นไม่ได้ “กระดูก” สมชื่อเสมอไปประการที่สอง หมอกระดูกไม่ได้รักษาแต่โรคกระดูก ที่ไม่ใช่กระดูก ก็รักษา ทั้งนี้ครอบคลุมไปถึงระบบต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวของร่างกาย เช่น กล้ามเนื้อ พังผืด ข้อเอ็น และเส้นเลือดเส้นประสาทที่มาเลี้ยง ระบบเหล่านี้ด้วย ...