Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » รายชื่อนักเขียน » ประเสริฐ พรหมณี

ประเสริฐ พรหมณี

  • รักษาดีซ่านด้วยยาแผนโบราณ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 68 ธันวาคม 2527
    ผมเป็นผู้หนึ่งที่มีเลือดเนื้อสืบเนื่องมาจากบรรพบุรุษที่เป็นหมอแผนโบราณ เมื่อไม่นานมานี้ผมได้ช่วยเหลือผู้ป่วยคนหนึ่งที่เป็นโรคดีซ่าน ซึ่งอาการค่อนข้างจะรุนแรงมาก เที่ยวได้รักษาเกือบจะทุกแห่งแล้ว หมดเงินทองไปเป็นจำนวนมากก็ไม่หาย เขาเล่าอาการให้ฟังว่า ครั่นเนื้อครั่นตัว อ่อนเพลียไม่มีแรงทำงาน แม้กระทั่งเดิน ตาเหลือง ตัวเหลือง ปัสสาวะเหลือง ปากขม กินอาหารก็ขมเมื่อได้ฟังอาการต่าง ๆ แล้ว ...
  • สมุฎฐานตามฤดู

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 58 มีนาคม 2527
    ตำราแพทย์แผนโบราณกาลวางหลักไว้ว่า สมุฏฐานที่ทำให้เกิดโรค มีส่วนสัมพันธ์กับ ฤดูที่หมุนเวียนไปในปีหนึ่งๆ ด้วย ท่านว่าฤดู คือ อากาศหรืออุณหภูมิภายนอกร่างกายเปลี่ยนแปลง เป็นฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนาว ปีนึ่งมีสามฤดู ฤดูละ 4 เดือน นับตั้งแต่แรม 1 ค่ำ เดือน 4 ถึงขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8 จัดเป็นฤดูร้อน หรือคิมหันตฤดู ตั้งแต่แรม 1 ค่ำ เอน 8 ถึงขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 จัดเป็นฤดูฝนหรือ วสันตฤดู ตั้งแต่แรง 1 ค่ำ ...
  • โรคทุราวสา

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 57 มกราคม 2527
    โรคทุราวสา คือ โรคเกี่ยวกับน้ำปัสสาวะเป็นสีต่างๆ 4 อย่าง ตามคัมภีร์แพทย์แผนโบราณ มีอาการปัสสาวะออกมาเป็นสีต่างๆ เจ็บปวดหัวหน่าว ปวดเมื่อตมร่างกาย แสบร้อนตามทางเดินปัสสาวะ มีไข้สะบัดร้อน สะบัดหนาว ครั่นเนื้อครั่นตัว อ่อนเพลีย ไม่มีกำลัง เส้นเอ็นตึง อาการไข้มีบ้างบางเวลา แต่ไม่มีปวดท้องปัสสาวะไม่มีเม็ดกรวด เม็ดทราบ ปัสสาวะไม่ขัด หมอโบราณกล่าวว่าเป็นน้ำปัสสาวะพิการ หรือน้ำมูตรที่ชั่วร้าย ...
  • ตานขโมย

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 56 ธันวาคม 2526
    ตานขโมยเป็นโรคที่เกิดขึ้นกับเด็ก ๆ หลังจากคลอดแล้ว 3-4 เดือน มีเม็ดขึ้นที่เหงือกข้างบนและข้างล่าง มีสีดำแดง บางทีก็สีเหลือง ตัวลายเหมือนเส้นเลือด เจ็บทั่วสรรพางค์กาย เด็กขาดความต้านทานโรค เนื้อหนังเหี่ยวผอม ไม่น่ารัก ตัวมีกลิ่นเหม็นคาว พุงโร ก้นปอด ท้องเดินไม่รู้หยุด เป็นน้ำส่าเหล้าและเป็นน้ำคาวปลา น้ำไข่เน่า เป็นมูก เป็นหนองก็ดี อุจจาระหยาบเหม็นคาวอย่างร้ายกาจ ทำให้ตาฟางเรียกว่า ...
  • ยาอายุวัฒนะ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 54 ตุลาคม 2526
    ยาสมุนไพรโบราณกล่าวเรื่องยาอายุวัฒนะไว้มากมายหลายอย่าง และก็มีผู้นิยมใช้กันอยู่มากทุกวันนี้ เพราะเป็นยาธรรมชาติที่ไม่มีพิษภัย หรือให้โทษต่อร่างกายแต่อย่างใด ตำรายาของใครมียาอายุวัฒนะดีก็เอามาอวดกัน และบอกตำรานี้ตำรานั้นชะงัดนัก กินแล้วอายุยืนไม่มีโรคภัยไข้เจ็บเข้ามาแทรกแซง ได้เคยใช้กันมากแล้วเป็นตำราตกทอดมาหลายชั่วอายุคนบางตำราก็บอกไว้เป็นคำกลอนบางตำราก็เขียนไว้เป็นปริศนา ...
  • น้ำกระสายยา

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 53 กันยายน 2526
    ยาแผนโบราณต้องใช้น้ำกระสายยา เพราะหมอโบราณมีความประสงค์จะให้ยาที่ต้องใช้น้ำกระสายนั้น มีฤทธิ์หรือสรรพคุณแรงพอที่จะต้านทานโรคหรือให้หายจากโรคภัยไข้เจ็บเร็วขึ้น จึงต้องใช้น้ำกระสายยา หรือใช้น้ำกระสายยาเพื่อให้ยานั้นกินง่ายขึ้น เพื่อความสะดวกต่อผู้ใช้ เพราะยาโบราณกินยากกลิ่นและรสไม่น่ารับประทาน ด้วยเหตุนี้จึงต้องใช้น้ำกระสายยา น้ำกระสายยาได้จากสิ่งต่อไปนี้น้ำกระสายยาได้จากน้ำสะอาดหรือน้ำต้มสุก ...
  • โรคป่วง!

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 52 สิงหาคม 2526
    โรคป่วง เป็นชื่อโรคตั้งแต่สมัยโบราณ หรือหมอโบราณตั้งชื่อโรคไว้เมื่อสมัยก่อน อาการของป่วง เป็นโรคที่น่ากลัวอยู่ไม่ใช่น้อย โรคนี้ถึงแม้จะไม่ติดต่อกัน แต่ก็ทำให้คนที่เป็นโรคนี้ตายได้ เพราะมีอาการถ่ายอย่างแรงมากและอาเจียน คนไข้อาจตายได้เพราะเสียน้ำในร่างกายอาการของโรคป่วง ตำราวิชาหมอโบราณว่าไว้ ให้หมอพิจารณาถึงรู้พิจารณาดูโดยกิริยา อาการไข้มีมาต่างๆกัน อย่าสำคัญว่าปีศาจ เหตุคือ ธาตุผิดสำแดง ...
  • โรคโบราณชื่อ "โทสันทฆาต"

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 51 กรกฎาคม 2526
    โรคโทสันทฆาต เป็นโรคที่เรียกชื่อกันตามภาษาชาวบ้านและวงการหมอโบราณแต่กาลก่อน ผู้เขียนได้เขียนอาการและยารักษาแบบโบราณ ให้ผู้ที่สนใจติดตามเรื่องของหมอโบราณในหนังสือ "หมอชาวบ้าน" เพื่อการรักษาตนเองและการสาธารณสุขมูลฐานซึ่งให้ความรู้หลายอย่างที่น่าสนใจประการหนึ่งของโรค "โทสันทฆาต" ย่อมบังเกิดได้ทั้งชายและหญิง ท่านว่าสตรีประจำเดือนไม่มาตามปกติ คือ ประจำเดือนขาดหายไปเป็นเดือนๆ ...
  • ไข้เหือด

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 50 มิถุนายน 2526
    อันว่าลักษณะอาการของไข้เหือดเมื่อเริ่มจับไข้ ให้ตัวร้อน ปวดศีรษะ ให้ผิวหนังเบ่งแดงไปทั่วตัว ให้เมื่อยไปทั่วร่างกาย ให้ร้อนภายใน ให้คอแห้งเจ็บคอ กระหายน้ำ ให้ไอ จามบ่อยๆ มีเม็ดผุดขึ้นตามตัว แต่เม็ดยอดไม่แหลมเหมือนหัด ถ้าขึ้นในตาทำให้ตาแดงมีขี้ตามากอาการที่จัดไข้นั้น ไม่จับ เซื่อมซึมเหมือนไข้อื่นๆ เป็นแต่ไม่มึนมัวหน้าตาอยู่เสมอๆ เมื่อเม็ดผุดออกมาเห็นแล้ว อาการที่ตัวร้อน ปวดศีรษะมึนมัวหน้าตานั้น ...
  • ไข้สามฤดู

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 49 พฤษภาคม 2526
    ไข้สามฤดูเป็นไข้ที่คนสมัยเก่าเรียกกัน และยังเรียกกันมาทุกวันนี้ในปีหนึ่งๆ การเปลี่ยนฤดูจากฤดูหนึ่งไปอีกฤดูหนึ่ง ท่านเคยสังเกตไหมว่า มักจะทำให้คนไม่สบาย เกิดการเจ็บป่วยเล็กๆ น้อยๆหมอโบราณพยากรณ์สมุฏฐานว่า คือ ร่างกายที่มีอุณหภูมิเคยชินกับอากาศในฤดูนั้นอยู่ เมื่อเปลี่ยนจากฤดูนี้ไปสู่อีกฤดูหนึ่ง อุณหภูมิที่เคยชินกับร่างกายเปลี่ยนแปลงไปไม่ทันกัน จึงมีการเจ็บป่วย (ผิดอากาศ) ...
  • 1
  • 2
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • นักเขียนหมอชาวบ้าน
  • นักเขียนรับเชิญ
ก ข ค ง จ ฉ ช ซ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ศ ส ห อ ฮ y

บทความเฉพาะเรื่อง

  • บทความเฉพาะเรื่อง

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa