ไข้
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
214
มีนาคม 2540
ประวัติการเจ็บป่วยนั้นสำคัญไฉน?คุณคงเคย(หรือพาผู้ป่วย)ไปหาหมอหลังจากรักษาตนเอง หรือรักษากันเองเบื้องต้นแล้วไม่หาย และหมอได้ถามคำถามหลายอย่างเช่น“เป็นมานานเท่าไรแล้ว”“เป็นตลอดเวลาหรือพักๆ”“เกิดขึ้นทันทีหรือมีอาการอื่นอะไรก่อน”“มีอาการมากตอนเวลาไหน”“แต่ละครั้งมีอาการอยู่นานแค่ไหน”“อะไรทำให้เป็นมากขึ้น ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
214
กุมภาพันธ์ 2540
เรื่อง “ไข้” (ตอนที่ 5)โรคต่างๆที่อาจตามมาหลังจากมีอาการดังกล่าว (ตอนที่ 4) 4. อาการปวดศีรษะมาก อาการปวดศีรษะอาจเกิดร่วมกับอาการไข้ต่างๆ โดยเฉพาะถ้าไข้สูง หรือไข้ขึ้นมากๆ ถ้าไข้ลงแล้ว(ตัวไม่ร้อนแล้ว)ยังปวดศีรษะมาก ต้องตรวจดูว่าบริเวณที่ปวดนั้นกดเจ็บไหมหรือเคาะเจ็บไหม เช่นถ้ากดเจ็บหรือเคาะ(ด้วยปลายนิ้วมือ)แล้วเจ็บที่บริเวณหว่างคิ้วหรือโหนกแก้ม และมีอาการคัดจมูกและน้ำมูกเป็นหนองด้วย ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
213
มกราคม 2540
เรื่อง “ไข้” (ตอนที่ 4)โรคต่างๆที่เกิดอาจเกิดตามมาหลังจากมีอาการดังกล่าว (ตอนที่ 3) เช่นโรคหัด (measles)โรคอีสุกอีใส (chickenpox)โรคส่าไข้หรือโรคไข้ผื่น (exanthematous diseases) อื่นๆ จะทำให้เกิดผื่น(ตั้งแต่เป็นผื่นแดงธรรมดา จนถึงเป็นตุ่ม เป็นแผล หรือเป็นฝีได้) ตามใบหน้า ลำตัว และ/หรือแขนขาลักษณะของผื่นที่ขึ้นชัดเจนแล้วทำให้เราวินิจฉัยโรคไข้ผื่นแต่ละชนิดได้ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
211
พฤศจิกายน 2539
เรื่อง “ไข้”(ตอนที่ 2)คนไข้รายที่4 ชายอายุ 4o ปี ถูกพามาโรงพยาบาลเพราะมีไข้สูง ไอเป็นเลือดและหอบเหนื่อยมา2 วันคนไข้ : “หมอ ช่วยผมด้วย ไอจนเจ็บหน้าอกไปหมดแล้ว”หมอ : “คุณเป็นมากี่วันแล้ว” คนไข้ : “2 วันครับ อยู่ดีๆ ก็เป็นไข้หนาวสั่นขึ้นมา ต่อมาก็ไอ และไอมากขึ้นเรื่อยๆ มีเลือดออก และเจ็บหน้าอกด้านขวามากครับ”หมอ : “3-4 วันก่อน ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
210
ตุลาคม 2539
เรื่อง “ไข้” (ตอนที่ 1)ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 คำว่า “ไข้” หมายถึง อาการของโรค ทำให้ตัวร้อน และหมายถึงความเจ็บป่วยด้วยดังนั้น เมื่อใครพูดว่า เป็น “ไข้” ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
50
มิถุนายน 2526
"เป็นอะไรครับ""รู้สึกเป็นไข้ครับ""ตัวร้อนไหม""ไม่ร้อนครับ"ตัวอย่างข้างต้นมีเสมอๆ คำว่าไข้ สำหับคนบางคนนั้นมีความหายแต่เพียงว่า "ไม่สบาย" เท่านั้น มีอะไรก็ได้ ไม่จำเป็นต้องมีไข้หรือตัวร้อนเสมอไปดังเช่นคำว่า "คนไข้" ซึ่งหมายถึง คนที่ไม่สบายด้วยเหตุใดก็ตาม ไม่จำเป็นต้องมีไข้หรือตัวร้อน จึงมีคนหลบจากคำว่า "คนไข้" มาเป็น ...