ยา
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
353
กันยายน 2551
เรามักจะได้ยินคนพูดกันบ่อยๆ ว่า "ถ้าจะให้หายป่วยเร็วๆ ต้องฉีดยา" หรือ "ยาฉีดแรงกว่ายากิน เลยได้ผลดีกว่า"แม้แต่บทสนทนากับหมอ..."หมอ ผมขอยาฉีดได้ไหม จะได้หายเร็วๆ" หรือ"ถ้าไม่ฉีดยาแล้วจะหายหรือคะ"จะเห็นได้ว่าผู้ป่วยบางคนยังขาดความรู้ความเข้าใจ และยังมีความเชื่อว่ายาฉีดนั้นต้องดีกว่าหรือแรงกว่ายากินซึ่งไม่ถูกต้องนัก ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
310
กุมภาพันธ์ 2548
หมอจำนวนมากทั่วโลกเชื่อว่า การใช้ยาลดไขมันในเลือดที่ชื่อว่า "statins" ปลอดภัยกว่ายาลดไข้อย่างแอสไพริน แอสไพรินมีผลข้างเคียงทำให้เกิดแผลในกระเพาะอาหาร แต่แอสไพรินยังคงเป็นยาลดไข้ที่ได้ผลดีมากและยังใช้รักษาโรคอีกบางชนิด) ทำให้โฆษณากัน ในสื่อต่างๆ มากมาย ว่าเป็นยาวิเศษ ใช้ป้องกันโรคหัวใจได้ โดยเฉพาะแพทย์รักษาโรคหัวใจที่พากันเห็นพ้องต้องกันว่า ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
309
มกราคม 2548
ถาม เพราะเหตุใด ทุกครั้งที่อากาศเปลี่ยน อาการภูมิแพ้จะเป็นมากขึ้น ควรใช้ยาและปฏิบัติตัวอย่างไรการเปลี่ยนแปลงของอากาศ ทำให้อาการของโรคภูมิแพ้รุนแรงขึ้นอากาศเป็นปัจจัยสำคัญที่กระตุ้นให้ร่างกายตอบสนองกับสิ่งที่เราแพ้แล้วทำให้เกิดอาการภูมิแพ้ได้รุนแรงมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นอากาศร้อนหรืออากาศเย็น ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
307
พฤศจิกายน 2547
เมื่อพูดถึงการใช้ยา เรามักมีความเชื่อว่า"ยาใหม่-ยาแพง คือยาดียาเก่า-ยาถูก คือยาโหล"เวลาไม่สบาย ทั้งหมอและผู้ป่วยจึงนิยมใช้ยาใหม่-ยาแพง ไม่ค่อยชอบใช้ยาเก่า-ยาถูกแต่ความจริงแล้ว บางครั้งยาใหม่-ยาแพง ก็อาจไม่ปลอดภัย จนต้องประกาศยกเลิกการผลิตและการจำหน่ายไปเลย ซึ่งก็เคยมีตัวอย่างเกิดขึ้นอยู่เรื่อยๆเมื่อปลายเดือนกันยายนที่ผ่านมา บริษัทยาของสหรัฐอเมริกาชื่อ Merck & Co. ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
307
พฤศจิกายน 2547
ถามทำไมบางครั้งได้รับยาไม่เหมือนเดิมเรื่อง "การรับยาที่ไม่เหมือนเดิม" หรือ "การเปลี่ยนยา" เป็นอีกเรื่องหนึ่งที่ประชาชนผู้ใช้ยาถามกันมามากว่า ทำไมยาถึงไม่เหมือนเดิม หรือทำไมต้องเปลี่ยนยา แล้วผลในการรักษาจะได้ผลดีเท่าเดิมหรือไม่?ยาเป็นปัจจัยสำคัญในการรักษาโรค ไม่ว่าจะเป็นโรคทั่วไป ที่ควรใช้ยาเมื่อมีความจำเป็นหรือมีอาการ เมื่ออาการทุเลาลงแล้วก็ควรหยุดยา ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
288
เมษายน 2546
เรื่องวุ่นๆ แต่ไม่ยาก ของ วิธีใช้ยา"ลูกของดิฉันเป็นไข้หวัดและคอแดง หมอให้ยามา ๔ ขวด ขวดที่ ๑ เป็นยาแก้ไข้ ให้ กินทุก ๔-๖ ชั่วโมง ครั้งละ ๒ ช้อนชา ขวดที่ ๒ เป็นยาลดน้ำมูก ให้กินวันละ ๓ ครั้ง หลังอาหาร ครั้งละ ๑ ช้อนชา ขวดที่ ๓ เป็นยาแก้ไอ ให้กินวันละ ๓ ครั้ง หลังอาหาร ครั้งละ ๑ ช้อนชา ขวดที่ ๔ เป็นยาแก้คออักเสบ ให้ กินวันละ ๓ ครั้ง ทุก ๘ ชั่วโมง เช้าๆ ดิฉันป้อนยาให้ลูก ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
283
พฤศจิกายน 2545
น้องนุช/นนทบุรี : ผู้ถามดิฉันขอคำแนะนำเกี่ยวกับวิธีการกินยาอย่างถูกวิธีด้วยค่ะ ที่ผ่านมาเวลาไปหาหมอทั้งที่คลินิก หรือโรงพยาบาลไม่มีใคร (ทั้งหมอ เภสัชกร และพยาบาล) อธิบายให้ละเอียดถึงวิธีการกินยาให้ถูกซักที เช่น กินก่อนอาหาร หลังอาหาร ก่อนนอน ต้องกินก่อนกินหลังเป็น เวลาเท่าไร ที่ผ่านมายาก่อนอาหาร ก็จะกินก่อนอาหารจริงๆ คือ กินยาปุ๊บก็กินข้าวปั๊บ หลังอาหารก็กินหลังอาหารจริงๆ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
266
มิถุนายน 2544
ความรู้สึกเป็นไข้ตอนบ่าย ร้อนบริเวณแก้ม เหงื่อออก เวลากลางคืน ร้อนฝ่ามือ ฝ่าเท้า และบริเวณทรวงอก ปากคอแห้ง ลิ้นแดง ฝ้าบนลิ้นน้อย หรือลิ้นเลี่ยน ชีพจรเบาเร็ว อาการเหล่านี้คนจีนเรียกว่า อิมฮือ อิมฮือ หมายถึง ภาวะเลือด ภาวะยินพร่อง ที่รวมถึงสารจิงไม่พอ เสียสารน้ำในร่างกาย ทำให้เกิดภาวะยินไม่สามารถควบคุมหยาง เกิดอาการแสดงออกของ ยินพร่อง มีความร้อนภายในร่างกาย (เนื่องจากหยางในร่างกายแกร่ง ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
265
พฤษภาคม 2544
เมื่อเร็วๆนี้ ได้อ่านพบรายงานผลการศึกษาวิจัยของคณะแพทย์แห่งสหรัฐอเมริกาชิ้นหนึ่ง พบว่า คนที่เป็นไข้หวัดใหญ่กลุ่มที่กินยาลดไข้จะหายช้ากว่ากลุ่มที่ไม่ได้กินยาลดไข้ข้อนี้ดูเหมือนจะตรงกันข้ามกับความรู้สึกของคนทั่วไปว่า การกินยาน่าจะดีกว่าไม่กินยา เนื่องเพราะพวกเราส่วนใหญ่มักจะเชื่อใน “ความวิเศษ” ของยา เวลาไม่สบายไปหาหมอ จะต้องได้ยาทีละหลายๆตัว หากหมอจ่ายยาให้เพียง1 ถึง2 ตัว ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
265
พฤษภาคม 2544
“คุณหมอครับ ยาที่ให้มานี้ต้องกินจนหมดทุกซองหรือเปล่าครับ?” “คุณหมอคะ เมื่อเช้านี้ไปตรวจที่โรงพยาบาล หมอบอกว่า เป็นไข้หวัด ให้ยาพาราเซตามอลมา 10 เม็ด คลอร์เฟนิรามีน10 เม็ด กินแล้วไม่เห็นดีขึ้น อยากให้คุณหมอฉีดยาและจัดยาให้ใหม่จะได้ไหมคะ?”คำถามทำนองนี้ มีให้ได้ยินอยู่บ่อยๆ ในที่นี้จึงขอถือโอกาสอธิบายหลักการรักษาโรคและการใช้ยาสักนิด เมื่อพูดถึงโรค ...