อารมณ์ (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)

  • วารสารคลินิก 293 พฤษภาคม 2552
    ปิยวาจาทางคลินิกฉบับที่แล้ว เราคุยกันถึงเรื่องคนไข้มีปัญหา ไม่เชื่อฟัง ไม่ยอมทำตามคำแนะนำที่คุณหมอมีให้ด้วยความปรารถนาดี คนไข้กรณีแบบนี้มักทำให้คุณหมอเกิดความหงุดหงิดรำคาญใจ พาลไม่อยากจะรักษาเอา และที่ร้ายกว่านั้น...คนไข้กลุ่มนี้มีจำนวนมากขึ้นเรื่อยๆ เสียด้วยสิครับ.ที่จริงแล้วการที่คนไข้หนึ่งคนเลือกที่จะ "เชื่อ"  หรือ "ไม่เชื่อ" คุณหมอนั้น ...
  • วารสารคลินิก 293 พฤษภาคม 2552
    จากความตอนที่แล้ว ได้พูดคุยกับผู้ป่วยหญิงที่มาด้วยอาการปวดศีรษะเรื้อรังมานานหลายปี และปวดถี่ขึ้นหลังจากที่สามีขอหย่า สามารถสรุปปัญหาสุขภาพแบบองค์รวมของผู้ป่วยรายนี้ได้ดังนี้สรุปปัญหาสุขภาพองค์รวม 31-year woman, mom of 1-year old boy, with1. Chronic tension-typed headache [due to the divorce]2. Separation phase of the divorcing family3. Couple violence after divorce ...
  • วารสารคลินิก 292 เมษายน 2552
    ความหมาย"สุดยอดแห่งชีวิต" ของคนๆ หนึ่งน่าจะหมายถึง สภาวะที่คนๆนั้นมีความสุขความสมหวังมากที่สุดในชีวิตของตน ซึ่งอาจเกิดขึ้นแล้ว หรือใฝ่ฝันว่าจะเกิดขึ้นสักครั้งหนึ่งในชีวิต.ความสุขความสมหวังของคนทั่วไปหรือปุถุชน (คนที่ยังมีกิเลสหนาหรือสามัญชน) ย่อมวนเวียนอยู่ในเรื่อง "กิน-กาม-เกียรติ-โก้" เช่นกรณีที่มีข่าวครึกโครมไปทั่วโลกในเดือนตุลาคม 2551 ว่าหนุ่มใหญ่ชาวเม็กซิกัน นายมานูเอล ...
  • วารสารคลินิก 290 กุมภาพันธ์ 2552
    อาชีวเวชศาสตร์ปริทัศน์จำนวน 3 ตอนที่ผ่านมาได้กล่าวถึงความเจ็บป่วยของตำรวจ และพยาบาล ซึ่งป่วยด้วยโรคมะเร็งในเวลาใกล้เคียงกัน โดยที่ทั้ง 2 ท่านมีประวัติการทำงานเหมือนกันเมื่อ 16 ปีก่อน คือ การปฏิบัติงานบริเวณท่าเรือคลองเตยช่วงหลังเหตุการณ์โกดังสารเคมีระเบิดและไฟไหม้ นอกจากเจ้าหน้าที่ชาวไทยแล้ว ยังได้กล่าวถึงการเจ็บป่วยของเจ้าหน้าที่ดับเพลิงและเจ้าหน้าที่เก็บกู้ซากปรักหักพังหลังเหตุการณ์ ...
  • วารสารคลินิก 290 กุมภาพันธ์ 2552
    "โศก เศร้า เหงา กลัว"ไม่ใช่ว่าผมกำลังจะชวนคุณหมอไปชมภาพยนตร์เรื่องใหม่กันหรอกนะครับ แต่ปิยวาจาทางคลินิกฉบับนี้เรากำลังจะมาคุยกันถึงเรื่องปฏิกิริยา ทางอารมณ์บางอย่างของคนไข้ต่างหาก.ก่อนอื่นเลย ผมคงต้องถามคุณหมอว่า ในชีวิตการเป็นแพทย์คุณหมอออกโอพีดีตรวจคนไข้ แล้วเจอคนไข้มานั่งร้องไห้กับคุณหมอหรือไม่ ? เคยเจอกี่รายครับ ...
  • วารสารคลินิก 289 มกราคม 2552
    "ทุกวันนี้ พี่จะไม่ไหวแล้วค่ะคุณหมอ...  พูดเท่าไหร่ คุณพ่อก็ไม่เคยฟัง"ในปัจจุบันจำนวนผู้ป่วยที่ต้องการได้รับการดูแลจากผู้ดูแล (Caregiver) เพิ่มมากขึ้นด้วยสาเหตุและปัจจัยหลายอย่าง เช่น อายุยืนยาวขึ้น (ด้วยสุขภาพที่ย่ำแย่) โรคสมองเสื่อมเพิ่มขึ้นตามอายุที่เพิ่ม จำนวนอุบัติเหตุเพิ่มขึ้นทำให้มีผู้พิการสูงขึ้น การเกิดอัมพฤกษ์และอัมพาตจากเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่เป็นมานาน ...
  • วารสารคลินิก 285 กันยายน 2551
    การดูแลรักษาพยาบาลผู้ป่วยในห้องฉุกเฉิน แพทย์และพยาบาลมักประสบปัญหาหนึ่งเสมอ นั่นคือ การที่ผู้ป่วยมารับการรักษาบ่อยๆ ณ ห้องฉุกเฉิน. แพทย์ต้องมองหาสาเหตุที่ทำให้ผู้ป่วยต้องมารับการรักษาที่ห้องฉุกเฉินบ่อย ทั้งนี้บางครั้งสาเหตุอาจเป็นจากการรักษาที่ไม่มีประสิทธิภาพได้แก่ ผู้ป่วยไม่ได้รับการรักษาต่อเนื่อง ผู้ป่วยไม่ปฏิบัติตามแนวทางการรักษาของแพทย์ประจำตัว หรืออาจมีปัจจัยอื่นๆ ซ่อนเร้นอยู่ ...
  • วารสารคลินิก 274 ตุลาคม 2550
    ลองจินตนาการว่า ท่านเป็นแพทย์ ผู้เปี่ยมด้วยจิตอาสาที่จะช่วยเหลือผู้ป่วยซึ่งลมหายใจกำลังไหลรินลงบนธรณีประตูแห่งแดนมรณะ แต่ท่านกลับถูกมอบหมายให้ขนขยะเหม็นเน่ากองใหญ่ท่ามกลางเปลวแดดอันร้อนระอุ ท่านจะรู้สึกอย่างไร. ไม่ว่าจะจินตนาการอย่างไร ท่านก็คงไม่ดื่มด่ำเท่ากับสัมผัสแท้จริงที่นายแพทย์แกรี่ มอร์ช ได้รับกับตนเอง ...
  • วารสารคลินิก 273 กันยายน 2550
    การแพทย์ตะวันตกได้รับการยอมรับในวงกว้างทั่วโลก รวมทั้งในประเทศไทย ว่ามีพัฒนาการและความเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็วทั้งในด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จนเป็นความหวังว่าจะทำให้มนุษย์มีสุขภาพดี และนำไปสู่ความเป็นอยู่ที่ดีทั้งในระดับบุคคลและสังคม. ความก้าวหน้าด้านวิทยาการทำให้เกิดความเข้าใจกันว่า จะสามารถรักษาโรคให้หายขาดหรือทุเลาลงได้ และจะสามารถยืดชีวิตหรือชะลอการตายได้อย่างไม่มีที่สิ้นสุด. ...
  • วารสารคลินิก 273 กันยายน 2550
    เมื่อได้ชื่อว่าเป็น หมอ อาจมีหลายคนรู้สึกว่าเรามีหน้าที่รักษาผู้ป่วยให้หายจากภาวะหรือโรคที่กำลังเป็นอยู่ แต่ในความเป็นจริงแล้วมีหลายครั้งที่เราไม่สามารถจะแก้ไขสิ่งที่เกิดขึ้นแล้วให้หายได้ ทั้งนี้ขึ้นกับปัจจัยหลายอย่าง เช่น1. ...