โรคระบบทางอวัยวะเพศหญิง (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)

  • วารสารคลินิก 289 มกราคม 2552
    ถาม  :  เมื่อมีอาการที่ฝีต่อม Bartholin's แล้วควรปฏิบัติอย่างไรเพื่อเป็นการป้องกัน ระวัง ...
  • วารสารคลินิก 281 พฤษภาคม 2551
    ตัวอย่างผู้ป่วยหญิงไทยอายุ 35 ปีมาด้วยอาการปวดท้องและท้องอืดแน่นนาน 3 วันก่อนมาโรงพยาบาลร่วมกับอาการคลื่นไส้อาเจียนมากและกินอาหารไม่ได้เลยประมาณ 2 สัปดาห์ก่อนหน้านี้ ผู้ป่วยได้รับยาฉีดและกินยากระตุ้นให้ไข่ตกเพื่อทำการปฏิสนธินอกร่างกาย (In vitro fertilization) (ภาพที่ 1). การตรวจร่างกายแรกรับพบว่า ผู้ป่วยมีชีพจรเต้นเร็วร่วมกับลักษณะการขาดน้ำอย่างมาก ...
  • วารสารคลินิก 279 มีนาคม 2551
    อาชีวเวชศาสตร์ปริทัศน์ฉบับที่ผ่านมาได้กล่าวถึงความเจ็บป่วยจากการทำงานหลากหลาย ด้วยหวังให้ท่านผู้อ่านได้ตระหนักว่าความเจ็บป่วยเหล่านั้นอยู่ใกล้ตัวผู้ประกอบเวชปฏิบัติและไม่ยากนักที่จะค้นหาสาเหตุ เพื่อให้การดูแลรักษาอย่างถูกต้องให้กับผู้ป่วย รวมทั้งทำการป้องกันอาการเจ็บป่วยให้กับเพื่อนร่วมงานของผู้ป่วย.ไม่นานมานี้ ผู้เขียนได้รับฟังเรื่องราวจากแพทย์อาชีวเวชศาสตร์รุ่นน้อง 2 คนซึ่งทำหน้าที่เป็น ...
  • วารสารคลินิก 269 พฤษภาคม 2550
    "ภาพหนึ่งภาพอาจมีความหมายมากกว่าอักษรนับร้อยนับพันคำ การเรียนรู้จากภาพจริงเกี่ยวกับผู้ป่วย คือที่มาของ " ปริศนาคลินิก" ซึ่งบรรจุเนื้อหาอันเป็นปริศนาที่เลือกสรรอย่างบรรจงจากวิทยากรเพื่อกระตุ้นการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน"สมนึก สังฆานุภาพ พ.บ.ผู้ช่วยศาสตราจารย์, หน่วยโรคติดเชื้อ, ภาควิชาอายุรศาสตร์, คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี ...
  • วารสารคลินิก 265 มกราคม 2550
    แนวทางการรักษาผู้ป่วยหอบหืดขณะไม่มีอาการ ถาม แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยหอบหืดที่ถูกต้องโดยการให้ยาขณะไม่มีอาการ ฟังปอดไม่มีเสียงวี๊ดเป็นอย่างไร. ตอบ ในกรณีนี้มีประเด็นสำคัญ 2 ข้อ คือ หืดขณะไม่มีอาการ และไม่ได้ยินเสียงวี๊ด. หืดที่ไม่มีอาการ นั้น หมายถึง ไม่มีอาการไอ หรืออาการหายใจลำบาก รวมทั้งอาการในเวลากลางคืน ซึ่งถือเป็นสิ่งที่ผู้ป่วยบอกกับแพทย์. ส่วนการไม่มีเสียงวี๊ดจากการฟังเสียงปอด ...
  • วารสารคลินิก 256 เมษายน 2549
    เป็นที่ทราบกันโดยทั่วไปแล้วว่า Human papillomavirus (HPV) เป็นไวรัสที่ก่อให้เกิดการติดเชื้อของเยื่อบุปากมดลูกชนิด squamous และการคงอยู่ของการติดเชื้อชนิดนี้เป็นความเสี่ยงสูง (high risk oncogenic HPV) ต่อการเป็นมะเร็งปากมดลูก. อย่างไรก็ตาม HPV มีอยู่ด้วยกันหลาย genotypes ก็ทำให้เกิดอาการแสดงทางคลินิกได้หลากหลายรูปแบบเช่นกัน ตัวอย่างเช่น HPV-6, HPV-11 จะก่อให้เกิดโรคหูดบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ ส่วน ...
  • วารสารคลินิก 239 พฤศจิกายน 2547
    บทนำวัยหมดระดูเป็นช่วงเวลาที่มีการเปลี่ยนแปลงหลายอย่างทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจโดยมีความสัมพันธ์กับการทำงานลดลงของรังไข่. แม้ว่าจะเป็นการเปลี่ยนแปลงตามธรรมชาติ แต่ก็อาจก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพในสตรีบางราย โดยในช่วงแรกจะมีระดูผิดปกติ อาการ vasomotor และอาการทางด้านจิตใจ ต่อมาจะมีอาการจากการเสื่อมถอยของ อวัยวะระบบสืบพันธุ์ และระบบขับถ่ายปัสสาวะ. ส่วนในระยะยาว ...