อื่น ๆ (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)

  • วารสารคลินิก 297 กันยายน 2552
    จากมาตรา12  ของ พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ 2550 ที่บัญญัติไว้ว่า" บุคคลมีสิทธิทำหนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุขที่เป็นไปเพื่อยืดการตายในวาระสุดท้ายของชีวิตตน หรือเพื่อยุติการทรมานจากการเจ็บป่วยได้การดำเนินตามหนังสือแสดงเจตนา ตามวรรคหนึ่งให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีที่กำหนดในกฎกระทรวงเมื่อผู้ประกอบวิชาชีพด้านสาธารณสุขได้ปฏิบัติตามเจตนาของบุคคลตามวรรคหนึ่ง ...
  • วารสารคลินิก 297 กันยายน 2552
    " การทำความดีนั้นยาก ยิ่งทำโดยไม่มีคนเห็นยิ่งยากกว่า แต่มีคนบางคนพยายามทำอยู่ "มีเจ้าหน้าที่ในโรงพยาบาลน่านคนหนึ่งเล่าให้ผมฟังว่า เมื่อหลายสัปดาห์ก่อน เธอขับรถจักรยานยนต์ ไปซื้อของที่ร้านค้าแห่งหนึ่ง เธอพบชายหนุ่มคนหนึ่งเนื้อตัวมอมแมมใส่เสื้อเลอะฝุ่นโคลน นอนไม่รู้สึกตัวอยู่ริมทางเดินเท้า เธอคาดคะเนว่าอายุประมาณ 20 ปีเศษ ...
  • วารสารคลินิก 297 กันยายน 2552
    Q. อยากเรียนถามวิธีพิจารณาเลือกวัสดุสำหรับเย็บแผลที่ส่วนต่างๆ ...
  • วารสารคลินิก 297 กันยายน 2552
    ในโลกนี้มีแนวคิดสองค่ายเกี่ยวกับชนิดแพทย์ในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ค่ายแองโกล-อเมริกัน เชื่อว่า แพทย์เฉพาะทางด้านการแพทย์ฉุกเฉิน (บ้านเราเรียกว่า แพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน) เป็นวิชาชีพที่จำเป็น จึงมีการผลิตต่อยอดจากระดับปริญญาเหมือนแพทย์เฉพาะทางด้านอื่น. ประเทศไทยเพิ่งนำแนวคิดนี้มาใช้และผลิตแพทย์สาขานี้แล้วเกือบ 200 รายตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542 ...
  • วารสารคลินิก 294 มิถุนายน 2552
    1 มิถุนายนMax Sterne (1 มิ.ย. 1905 - 26 ก.พ. 1997) สัตวแพทย์ชาวอิตาลีผู้ค้นพบเชื้อแอนแทร๊กซ์สายพันธุ์ Sterne (34F2) ในค.ศ. 1939 ซึ่งนำมาใช้ในการ ผลิตวัคซีนแอนแทร๊กซ์ที่ปลอดภัยได้และใช้มาจนถึงปัจจุบัน. Harold James Charles " Jeremy" Swan (1 มิ.ย. 1922 - 7 ก.พ. 2005) หทัยแพทย์ชาวไอร์แลนด์ ผู้คิดค้น Swan-Ganz catheter ในปี ค.ศ. 1968 ...
  • วารสารคลินิก 293 พฤษภาคม 2552
    "หน้าที่ของแพทย์เป็นหน้าที่ที่จะได้รับความยากลำบากมาก เหตุฉะนั้นผู้ที่จะเป็นแพทย์จะเป็นได้ด้วยใจ ถ้าใจไม่เป็นแพทย์ก็เป็นแพทย์ไม่ได้ที่ว่าจะเป็นได้ด้วยใจนั้นคือหนึ่ง ต้องมีใจกล้าหาญไม่สยดแสยงสอง ต้องมีใจมั่นคงหนักแน่นไม่ประหม่าตื่นเต้นสาม ต้องมีใจอดทนต่อหิวหาวยากเหนื่อยและโสโครก ไม่เป็นคนฉุนเฉียวและละทิ้งการงานเสียง่ายๆถ้าผู้ที่จะเป็นแพทย์ไม่ฝึกหัดอัธยาศัยใจตน ให้เป็นได้ทั้ง ...
  • วารสารคลินิก 293 พฤษภาคม 2552
    1 พฤษภาคมHenri Parinaud (1 พ.ค. 1844-23 มี.ค. 1905) จักษุแพทย์ชาวฝรั่งเศสผู้ค้นพบ Parinaud's oculoglandular syndrome และ Parinaud-Koerber-Salus-Elschnig syndrome เขาได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งวิชาจักษุวิทยาของฝรั่งเศส.Lawson Tait หรือชื่อเดิม Robert Lawson Tait (1 พ.ค. 1845-13 มิ.ย. 1899) ศัลยแพทย์ชาวสกอตผู้ทำการผ่าตัดไส้ติ่งเป็นคนแรกในปี ค.ศ. 1880 และทำ salpingectomy เป็นคนแรกในปี ค.ศ. ...
  • วารสารคลินิก 293 พฤษภาคม 2552
    ปิยวาจาทางคลินิกฉบับที่แล้ว เราคุยกันถึงเรื่องคนไข้มีปัญหา ไม่เชื่อฟัง ไม่ยอมทำตามคำแนะนำที่คุณหมอมีให้ด้วยความปรารถนาดี คนไข้กรณีแบบนี้มักทำให้คุณหมอเกิดความหงุดหงิดรำคาญใจ พาลไม่อยากจะรักษาเอา และที่ร้ายกว่านั้น...คนไข้กลุ่มนี้มีจำนวนมากขึ้นเรื่อยๆ เสียด้วยสิครับ.ที่จริงแล้วการที่คนไข้หนึ่งคนเลือกที่จะ "เชื่อ"  หรือ "ไม่เชื่อ" คุณหมอนั้น ...
  • วารสารคลินิก 293 พฤษภาคม 2552
    ผมได้รับการแต่งตั้งโดยแพทยสภาให้เป็นเลขาธิการแพทยสภาสมัย 2552-2554 ซึ่งเป็นสมัยแรกของผมรวมทั้งนายแพทย์อิทธพร คณะเจริญ ให้เป็นรองเลขาธิการแพทยสภาและให้มีผู้ช่วยอีก 6 คน พวกเราได้ปรึกษากันอย่างเข้มข้นส่งลูกรับลูกกันตลอด และมีความเห็นร่วมกันว่า ทีมเลขาฯน่าจะไปขอพบอาจารย์แพทย์ที่ประสบความสำเร็จเป็นที่เคารพนับถือของแพทย์ส่วนใหญ่เพื่อขอคำแนะนำ ขอความเห็น รวมทั้งปรึกษากิจการของแพทยสภา ...
  • วารสารคลินิก 293 พฤษภาคม 2552
    จากความตอนที่แล้ว ได้พูดคุยกับผู้ป่วยหญิงที่มาด้วยอาการปวดศีรษะเรื้อรังมานานหลายปี และปวดถี่ขึ้นหลังจากที่สามีขอหย่า สามารถสรุปปัญหาสุขภาพแบบองค์รวมของผู้ป่วยรายนี้ได้ดังนี้สรุปปัญหาสุขภาพองค์รวม 31-year woman, mom of 1-year old boy, with1. Chronic tension-typed headache [due to the divorce]2. Separation phase of the divorcing family3. Couple violence after divorce ...