การดูแลผู้สูงอายุ (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)

  • วารสารคลินิก 289 มกราคม 2552
    "ทุกวันนี้ พี่จะไม่ไหวแล้วค่ะคุณหมอ...  พูดเท่าไหร่ คุณพ่อก็ไม่เคยฟัง"ในปัจจุบันจำนวนผู้ป่วยที่ต้องการได้รับการดูแลจากผู้ดูแล (Caregiver) เพิ่มมากขึ้นด้วยสาเหตุและปัจจัยหลายอย่าง เช่น อายุยืนยาวขึ้น (ด้วยสุขภาพที่ย่ำแย่) โรคสมองเสื่อมเพิ่มขึ้นตามอายุที่เพิ่ม จำนวนอุบัติเหตุเพิ่มขึ้นทำให้มีผู้พิการสูงขึ้น การเกิดอัมพฤกษ์และอัมพาตจากเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่เป็นมานาน ...
  • วารสารคลินิก 287 พฤศจิกายน 2551
    คำจำกัดความกลุ่มอาการเมตาบอลิก หมายถึง กลุ่มอาการที่เป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจ หลอดเลือดและเบาหวานชนิดที่ 2 ประกอบด้วยความผิดปกติ 4 ชนิด1 ดังนี้- อ้วนลงพุง (abdominal obesity).- ภาวะไขมันในเลือดสูง (dyslipidemia).- ความดันเลือดสูง (hypertension).- การเผาผลาญน้ำตาลผิดปกติและ/หรือเบาหวานชนิดที่ 2.ภาวะโรคอ้วนในเด็ก ...
  • วารสารคลินิก 287 พฤศจิกายน 2551
    Extern ศศิวิมล  :  คุณยายตกจากบ้าน  ได้รับบาดเจ็บจนกระดูกซี่โครงซี่ที่ 7 หัก (7th rib fracture) โดยในวันแรกไม่มีภาวะลมในช่องเยื่อหุ้มปอด (pneumothorax)คุณยายได้รับยาแก้ปวดแล้วจึงกลับบ้าน. วันนี้คุณยายมาตรวจตามนัด เมื่อตรวจภาพถ่ายรังสีทรวงอก คิดว่ามีภาวะลมในช่องเยื่อหุ้มปอด แต่แพทย์รุ่นพี่บอกว่าเห็นไม่ชัดเจน อีกทั้ง คุณยายก็ไม่แสดงอาการเหนื่อย ไม่แน่นหน้าอก ...
  • วารสารคลินิก 276 ธันวาคม 2550
    www.gpo.or.th/herbal/herbal.htmMedicinal plantsสมุนไพร  วารสารคลินิกฉบับนี้ขอนำเสนอเรื่องสมุนไพรไทย โดยขอแนะนำเว็บไซต์ขององค์การเภสัชกรรมที่มีความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรประมาณ 20 ชนิด แบ่งกลุ่มตามประเภทของยารักษาโรค เช่น ยาแก้ไอ ขับเสมหะ ยาถ่ายพยาธิ ยาขับปัสสาวะ เป็นต้น. แต่ละชนิดมีชื่อทางเคมี บรรยายรูปลักษณะ สรรพคุณ ...
  • วารสารคลินิก 272 สิงหาคม 2550
    ...
  • วารสารคลินิก 263 พฤศจิกายน 2549
    อาการอ่อนเปลี้ยเพลียแรงเป็นอาการพบบ่อย ที่สำคัญ และเรียกได้ว่าเป็น "ไม้เบื่อไม้เมา" ในเวชปฏิบัติ เพราะพบได้ทั้งคนทั่วไปและคนที่ป่วยเป็นโรค แพทย์ส่วนใหญ่มักรู้สึกไม่ยินดีที่จะดูแลอาการดังกล่าว โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากไม่พบสาเหตุโรคชัดเจนเมื่อไม่พบโรคทางกาย ก็มักจะเข้าใจว่าเป็นโรคทางใจ และละเลยที่จะสนใจในรายละเอียดความทุกข์ทรมานลักษณะนี้ "ไปนอนซะ ...
  • วารสารคลินิก 260 สิงหาคม 2549
    การวินิจฉัยโรคสมองเสื่อม : การซักประวัติหลักที่สำคัญในการวินิจฉัยสมองเสื่อม คือการซักประวัติและการตรวจร่างกาย แพทย์ที่ดูแลรักษาผู้ป่วยสมองเสื่อมทุกท่านต้องตระหนักเรื่องกฎเกณฑ์ขั้นพื้นฐานในการวินิจฉัยโรคของผู้ป่วย. จริงๆแล้วกฎนี้ใช้ได้กับโรคทุกโรคไม่ใช่เฉพาะโรคสมองเสื่อมเท่านั้น. ต่อไปนี้เป็นกฎเกณฑ์หลักขั้นพื้นฐานที่ต้องทำความเข้าใจและเรียนรู้ เพื่อให้การวินิจฉัยโรคสมองเสื่อมทำให้ง่าย ถูกต้อง ...
  • วารสารคลินิก 258 มิถุนายน 2549
    คำนำโรคสมองเสื่อม โดยเฉพาะโรคอัลไซเมอร์เป็นโรคที่ประชาชนชาวไทยส่วนใหญ่รู้จักดีจนเอามาพูดหยอกล้อกันเล่น ถ้าคนไหนความจำไม่ดี หลงลืมบ่อยๆ จะกระซิบกับพรรคพวกว่า " สงสัยเป็นอัลไซเมอร์ " แต่ถ้าย้อนถามกลับว่าโรคอัลไซเมอร์ตัวจริงเป็นอย่างไรจะไม่สามารถให้คำตอบที่ชัดเจนได้.โรคอัลไซเมอร์เป็นโรคที่รู้จักกันดี เพราะในอดีตโรคนี้ไปเกี่ยวข้องพาดพิงกับนักการเมืองที่สำคัญของประเทศไทย ...
  • วารสารคลินิก 258 มิถุนายน 2549
    ประวัติและการตรวจร่างกายชายอายุ 70 ปี อาชีพค้าขาย ภูมิลำเนาจังหวัดขอนแก่น ผู้ป่วยเดินเซ วิงเวียนศีรษะมา 1 วัน ผู้ป่วยมีโรคประจำตัวความดันเลือดสูง โรคหลอดเลือดสมองตีบ ไขมันในเลือดสูง ได้รับการรักษาสม่ำเสมอโดยควบคุมความดันเลือดและระดับไขมันอยู่ในเกณฑ์ดีมาก. ผู้ป่วยกินยาแอสไพรินขนาด 300 มก./วัน อย่างต่อเนื่อง แต่ก็ยังเคยเกิดโรคหลอดเลือดสมองตีบซ้ำ แพทย์จึงเปลี่ยนยาแอสไพรินเป็น clopidogrel 75 ...
  • วารสารคลินิก 239 พฤศจิกายน 2547
    (Abbott RD, et al. Walking and dementia in physically capable elderly men. JAMA 2004;292:1447-53.)การเคลื่อนไหวร่างกายเป็นประจำ (physical activity) ช่วยป้องกันสมองเสื่อม (dementia) ในผู้สูงอายุได้ แต่การเดินเป็นการออกแรงกายแบบไม่หักโหมจะช่วยป้องกันได้หรือไม่. Abbott RD และคณะติดตามชายที่มีอายุ 71-93 ปีจำนวน 2,257 คน ซึ่งอยู่ในการศึกษา Honolulu-Asia Aging Study เริ่มระหว่างปี พ.ศ. 2534-2536. ...