โรคระบบทางเดินหายใจ (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)

  • วารสารคลินิก 297 กันยายน 2552
    ภายหลังจากที่คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติได้ออกประกาศคณะกรรมการฯฉบับที่ 32 ในราชกิจจานุเบกษา อันมีผลทำให้ท้องที่บางส่วนของจังหวัดระยอง เป็นเขตควบคุมมลพิษตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคมที่ผ่านมาแล้วนั้น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตควบคุมมลพิษดังกล่าว ได้จัดทำแผนปฏิบัติการที่เรียกสั้นๆว่า " แผนควบคุมมลพิษ " เพื่อเสนอต่อผู้ว่าราชการจังหวัดภายในระยะเวลา 120 วัน ...
  • วารสารคลินิก 287 พฤศจิกายน 2551
    Acute respiratory distress syndrome (ARDS) เป็นภาวะหายใจล้มเหลวเฉียบพลันที่เกิดจากการที่เนื้อปอดมีพยาธิสภาพเกิดขึ้นอย่างรุนแรง กระจายอย่างรวดเร็วไปที่เนื้อปอดทั้ง 2 ข้าง เป็นผลให้มีภาวะพร่องออกซิเจนอย่างมาก หากไม่ได้รับการรักษาอย่างถูกต้องทันท่วงทีผู้ป่วยมีโอกาสเสียชีวิตได้มาก.  หลักเกณฑ์การวินิจฉัย ARDS1 ...
  • วารสารคลินิก 286 ตุลาคม 2551
        ภาพที่ 1. ...
  • วารสารคลินิก 282 มิถุนายน 2551
    หญิงไทย อายุ 45 ปี มาห้องฉุกเฉินด้วยอาการปวดจุกเสียด แน่นบริเวณลิ้นปี่ 3 ชั่วโมง ผู้ป่วยไม่มีไข้ ไม่มีอาการคลื่นไส้อาเจียน. ผู้ป่วยมีโรคประจำตัวเดิมคือ myasthenia gravis ซึ่งกินยา mestinon 1 เม็ดเช้าและเย็นเพื่อควบคุมอาการอยู่ แพทย์เวรวินิจฉัยว่าเป็น acute gastritis ให้การรักษาด้วยการฉีดยา losec 40 มก. เข้าหลอดเลือด. หลังฉีดยาสังเกตอาการ 30 นาที อาการไม่ดีขึ้น ผู้ป่วยยังบ่นปวดท้องเหมือนเดิม ...
  • วารสารคลินิก 281 พฤษภาคม 2551
    วัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ : การลงทุนทางสาธารณสุขเสริมความมั่นคงชาติไวรัสไข้หวัดใหญ่เป็นสาเหตุที่สำคัญของการเกิดโรคระบบทางเดินหายใจแบบเฉียบพลัน พบได้บ่อยในคนทุกกลุ่มอายุ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเด็กและผู้สูงอายุ ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีความรุนแรงของโรคสูงจากการมีภาวะแทรกซ้อน ลักษณะของการเกิดโรคและลักษณะของกลุ่มเสี่ยงในแต่ละประเทศจะคล้ายคลึงกันทั่วโลก โดยทั่วไปจะพบการเกิดโรคประมาณร้อยละ 10-20 ของประชากร ...
  • วารสารคลินิก 277 มกราคม 2551
    บทความนี้เป็นประสบการณ์การสอบสวนการระบาดของโรคไอกรนของผู้เขียนเมื่อครั้งเป็นแพทย์ประจำบ้าน ในโครงการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน สาขาเวชศาสตร์ป้องกัน แขนงระบาดวิทยา ที่กองระบาดวิทยา (ชื่อเดิมของสำนักระบาดวิทยา) กระทรวงสาธารณสุข. ประเด็นทางด้านการแพทย์และระบาดวิทยา เช่นการที่โรคที่พบน้อยลงจากผลของการรณรงค์ให้วัคซีนกลับมาเป็นปัญหาใหม่ (reemerging disease) ...
  • วารสารคลินิก 274 ตุลาคม 2550
    Respiratory failure in children : recognition and initial managementเมื่อพบผู้ป่วยที่มีอาการหอบเหนื่อย หายใจเร็ว หายใจลำบาก หรือต้องออกแรงในการหายใจมากกว่าปกติ จะต้องคิดไว้เสมอว่าความรุนแรงของอาการเหล่านั้น อาจจะถึงขั้นที่เรียกว่ามีภาวะการหายใจล้มเหลว (respiratory failure) ซึ่งมีโอกาสเกิดขึ้นได้ในทุกๆ ขณะ. ดังนั้นจึงควรสังเกตอาการของผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด ...
  • วารสารคลินิก 273 กันยายน 2550
    ซาร์ส (SARS) เป็นคำที่ทำให้ทุกคนในโลกขวัญกระเจิงมาแล้ว วันนี้ผมจะขอนำทุกท่านกลับไปสู่เหตุการณ์นั้นอีกครั้งหนึ่ง.ปอดบวม (pneumonia) เป็นโรคหนึ่งของระบบทางเดินหายใจส่วนล่างเกิดได้จากหลายสาเหตุ ที่สำคัญคือเกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียและไวรัส.16 พฤศจิกายน ค.ศ. 2002 ถึง 9 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2003 ประเทศจีนรายงานว่าที่มณฑลกวางตุ้งเกิดการระบาดของโรคปอดบวมโดยมีผู้ป่วยถึง 305 ราย เสียชีวิต 5 ราย ...
  • วารสารคลินิก 273 กันยายน 2550
    ถาม ขอเรียนถามวิธีการรักษาผู้ป่วยเป็นโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังจากการสูบบุหรี่.สมาชิกตอบ จุดมุ่งหมายที่สำคัญในการรักษาผู้ป่วย COPD ได้แก่ ทำให้อาการเหนื่อยดีขึ้น คงสภาพการทำงานของปอดหรือทำให้เสื่อมลงช้าที่สุด ออกกำลังได้ดีขึ้น เพิ่มคุณภาพชีวิต ป้องกันและรักษาภาวะแทรกซ้อน ป้องกันและรักษาภาวะกำเริบเฉียบพลัน และลดอัตราการเสียชีวิต. การรักษาที่ดีที่สุด ได้ผลดีที่สุด ...
  • วารสารคลินิก 271 กรกฎาคม 2550
    ชายไทยอายุ 60 ปี มาห้องฉุกเฉิน เนื่องจากหายใจหอบเหนื่อย อ่อนเพลีย กินได้น้อย หลังจากกลับมาจากเที่ยวประเทศทิเบต เมื่อ 4 วันก่อน. โดยวันแรกไปเที่ยวที่ระดับความสูงประมาณ 1,000 ฟุต จากระดับน้ำทะเล อาการทั่วไปปกติดี. วันที่ 2 ไปเที่ยวที่ระดับความสูงประมาณ 3,000 ฟุต เริ่มมีอาการคลื่นไส้อาเจียน เวียนศีรษะเล็กน้อย ไม่มีบ้านหมุน เพลียและเหนื่อยมากขึ้น ไม่เจ็บหน้าอก ถ่ายเหลว 1 ครั้งไม่มีมูกเลือดปน ...