คุยสุขภาพ (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)

  • วารสารคลินิก 289 มกราคม 2552
    3.3 วิธีบรรเทาอาการคลื่นไส้อาเจียน(1) การรักษาสาเหตุ ซึ่งส่วนใหญ่มักจะผ่านพ้นไปแล้ว เช่น การให้ยาฆ่ามะเร็ง ("เคโม") การฉายแสง หรือมักจะรักษาไม่ได้ เช่น มีพยาธิสภาพรุนแรงในช่องท้อง หรือในสมอง แต่บางอย่างก็รักษาสาเหตุได้ เช่น กระเพาะอาหารอักเสบ (จากยาหรือโรคของตนเอง) ก็ให้ยาลดกรดและยาเคลือบกระเพาะ อาการท้องผูกก็ให้ยาระบายหรือสวนอุจจาระออก เป็นต้น.(2) การใช้ยา เช่น ...
  • วารสารคลินิก 289 มกราคม 2552
    Q  :   การวินิจฉัยทาง pathology ทำอย่างไรA  :  GIST ส่วนใหญ่จะมีลักษณะทาง histology 3 แบบ คือ161. Spindle cells เป็นส่วนใหญ่ (เป็นลักษณะที่พบบ่อยที่สุด).2. Epithelioid cells เป็นส่วนใหญ่.3. ผสมกันทั้ง spindle cells และ epithelioid ...
  • วารสารคลินิก 289 มกราคม 2552
    de Jong YP, Uil SM, Grotjohan HP, et al. Oral or IV prednisolone in the treatment of COPD exacerbations : a randomized, controlled, double-blind study. Chest 2007; 132:1741-7. ผู้ป่วย COPD ทีมีอาการหอบเหนื่อยรุนแรง ต้องเข้านอนรักษาในโรงพยาบาล การให้ยา systematic steroid ช่วยลดความทรมานของผู้ป่วยได้รวดเร็ว สามารถกลับบ้านเร็วและลดอัตราการเป็นซ้ำ แม้ว่าข้อแนะนำในการรักษาให้ใช้ยา prednisolone ...
  • วารสารคลินิก 289 มกราคม 2552
    Parkes G, Greenhalgh T, Griffin M, et al. Effect on smoking quit rate of telling patients their lung age : the Step2 quit randomised controlled trial. BMJ 2008; 336:598-600. หนึ่งในสี่ของคนสูบบุหรี่ลงเอยด้วยโรคทางเดินหายใจอุดกั้นเรื้อรัง (COPD) ซึ่งเป็นสาเหตุการตายมากที่สุดลำดับสี่ของประชากรโลก วิธีการรณรงค์ให้นักสูบทั้งหลายเลิกสูบจึงน่าสนใจ. นักวิจัยในประเทศอังกฤษ ศึกษา randomisation ...
  • วารสารคลินิก 289 มกราคม 2552
    Q  :    อยากเรียนถามหลักการในการใช้ยาหยอดตาหรือยาป้ายตา ...
  • วารสารคลินิก 289 มกราคม 2552
    Q  :  อยากทราบว่าฟันคุดเป็นอย่างไร เมื่อไหร่จึงต้องถอนออก ...
  • วารสารคลินิก 289 มกราคม 2552
    ถาม  :  ผู้ป่วยไปซื้อยากินเอง เดิมไม่เคยมีประวัติแพ้ยามาก่อน แต่ครั้งนี้เกิดแพ้ยาแบบรุนแรงแบบ Stevens-Johnson syndrome ผู้ป่วยมีสิทธิฟ้องเรียกค่าเสียหายจากผู้ที่จำหน่ายยาหลายสิบล้านบาทแบบฟ้องแพทย์ได้หรือไม่ ผู้ที่จำหน่ายยาต้องรับผิดชอบแบบแพทย์หรือไม่ ...
  • วารสารคลินิก 289 มกราคม 2552
    รายที่ 1หญิงไทยคู่ อายุ 51 ปี ภูมิลำเนาอยู่จังหวัดปทุมธานี อาชีพค้าขาย ผู้ป่วยสังเกตพบตุ่มนูนสีแดง- ม่วงหลายตุ่มมีรูปร่างและขนาดต่างๆ กันกระจายที่ข้อเท้าและหลังเท้าทั้ง 2 ข้าง(ภาพที่ 1) มาประมาณ 7 เดือน ตุ่มลามเพิ่มจำนวนขึ้น มีอาการคันมาก ยาเชื้อราและยาซีม่าที่ผู้ป่วยทาเองอาการไม่ดีขึ้น. เพื่อรักษาโรคความดันเลือดสูง แพทย์ได้ให้ผู้ป่วยกินยา furosemide มาประมาณ 1 ปี ...
  • วารสารคลินิก 288 ธันวาคม 2551
    แพทย์และพยาบาลเวชศาสตร์ฉุกเฉินแพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน ("หมอฉุกเฉิน") เป็นแพทย์ที่จะได้ตรวจรักษาผู้ป่วยที่ตายแล้ว (DOA, death on arrival) กำลังจะตาย (dying) ใกล้ตายหรือระยะสุดท้าย (terminal or end-of-life) เจ็บหนักวิกฤต (critical) และผู้ป่วยเฉียบพลันกับเรื้อรังต่างๆ ในช่วงเดียวกันหรือติดๆ กัน มากกว่าแพทย์เฉพาะทางสาขาอื่นๆ พยาบาลเวชศาสตร์ฉุกเฉิน ("พยาบาลฉุกเฉิน") ...
  • วารสารคลินิก 288 ธันวาคม 2551
    ก. อารัมภบท1. การรักษาพยาบาลผู้ป่วยนั้น แพทย์จะต้องใช้ยา อุปกรณ์ทางการแพทย์ เครื่องมือวินิจฉัยโรค เครื่องมือและวัสดุต่างๆ ตลอดจนผลิตภัณฑ์ที่ผลิตและพัฒนาโดยองค์กรธุรกิจต่างๆ โดยภาคอุตสาหกรรมที่เป็นเจ้าของทรัพยากรต่างๆ ได้อุดหนุนลงทุนวิจัยและพัฒนาที่ใช้เงินจำนวนมาก เพื่อให้ได้มาซึ่งความรู้และประสบการณ์ซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นของแพทย์ นอกจากนั้น ...