Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » รายชื่อนักเขียน » ธนนท์ ศุข

ธนนท์ ศุข

  • ไตวายเรื้อรัง ป้องกันได้!

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 295 พฤศจิกายน 2547
    ไตวายเรื้อรัง ป้องกันได้!เมื่อเอ่ยถึงโรคไต คนส่วนใหญ่มักคุ้นเคยกับภาพผู้ป่วยที่มีภาวะไตวายระยะสุดท้าย (end-stage renal disease) ที่เดิมเรียกชื่อว่า โรค "ไตวายเรื้อรัง"(chronicrenal failure) และเป็นระยะที่ผู้ป่วยใกล้เสียชีวิตญาติพี่น้องของผู้ป่วยอาจมองเห็นภาพผู้ป่วยที่ไตหมดสภาพการทำงาน แล้วต้องประทังชีวิตด้วยการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม ...
  • สปา ทางเลือกของคนรักสุขภาพและความงาม

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 302 มิถุนายน 2547
    สปา ทางเลือกของคนรักสุขภาพและความงามธนนท์ ศุขสุขภาพ ไม่สามารถซื้อหาได้ แต่จะต้องปฏิบัติด้วยตัวเองเพราะสุขภาพเกี่ยวข้องกับร่างกายและจิตใจของแต่ละบุคคล คน100 คนก็มีวิถีชีวิต100 รูปแบบที่แตกต่างกัน ทว่ารูปแบบหรือหลักแห่งการดำเนินชีวิตของบุคคลอื่นนั้น บางสิ่งบางอย่างสามารถถ่ายทอด แนะนำให้เพื่อนพ้องน้องพี่สามารถนำไปปรับใช้ และเกิดผลในทางที่ดีขึ้นต่อสุขภาพ ด้วยข้อจำกัดของเวลา ...
  • ธาตุเหล็ก พัฒนาสมองพัฒนาชีวิต

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 298 กุมภาพันธ์ 2547
    ธาตุเหล็ก พัฒนาสมองพัฒนาชีวิตการกินอาหารของคนไทย ที่ปฏิบัติและบอกต่อกันมาอย่างต่อเนื่อง นั่นคือ กินอาหารให้ครบทั้ง ๕ หมู่ คือ โปรตีน คาร์โบไฮเดรต เกลือแร่ วิตามิน และไขมัน๑. โปรตีน ได้แก่ เนื้อสัตว์ เครื่องใน ไข่ ถั่วเมล็ดแห้ง นมและผลิตภัณฑ์นม โปรตีนช่วยเสริมสร้างและซ่อมแซมร่างกาย อาหารทะเลป้องกันโรคคอพอกตับสร้างและบำรุงเลือด นมสร้างกระดูกและฟัน ๒. คาร์โบไฮเดรต ได้แก่ ข้าว ...
  • ประสบการณ์การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 296 ธันวาคม 2546
    ประสบการณ์การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายผู้ป่วยระยะสุดท้าย หมายถึง ผู้ป่วยที่มีอาการของโรคลุกลาม จนถึงขั้นรักษาไม่หาย และไม่มีแผนการรักษาใดๆ อีกต่อไป นอกจากรับการดูแลแบบประคับประคองตามอาการจนถึงระยะสุดท้าย ผู้ป่วยระยะสุดท้ายและญาติมีความต้องการอยู่ในโรงพยาบาลให้นานที่สุด โดยมีความคาดหวังว่าผู้ป่วยอาจ มีอาการดีขึ้นบ้าง หรือญาติผู้ป่วยอาจขาดความมั่นใจในการดูแลผู้ป่วยที่บ้าน ...
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • นักเขียนหมอชาวบ้าน
  • นักเขียนรับเชิญ
ก ข ค ง จ ฉ ช ซ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ศ ส ห อ ฮ y

บทความเฉพาะเรื่อง

  • บทความเฉพาะเรื่อง

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa