Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » ถาม-ตอบปัญหาสุขภาพ

ถาม-ตอบปัญหาสุขภาพ

ส่งคำถามปัญหาสุขภาพของคุณ
  • เลือดออกในสมอง

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 396 เมษายน 2555
    ถาม : กัญญา/กรุงเทพฯโรคเลือดออกในสมองมีอันตรายต่อชีวิตหรือไม่ อาการเป็นอย่างไร และการป้องกันโรคนี้จะต้องทำอย่างไรบ้างตอบ : นพ.ประจักษ์ ศรีรพีพัฒน์โรคเลือดออกในสมอง เป็นโรคที่พบได้บ่อยในปัจจุบัน พบมากในผู้ที่มีอายุ ๔๐ ปีขึ้นไป และผู้ชายมีโอกาสเป็นมากกว่าผู้หญิงประมาณ ๒-๓ ...
  • ไวรัสตับอักเสบบี

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 396 เมษายน 2555
    ถาม : มนตรี/นครปฐมหากป่วยเป็นไวรัสตับอักเสบบีจะมีอาการอย่างไรบ้าง แล้วสามารถหายขาดได้หรือไม่ครับตอบ : นพ.วัชรศักดิ์ โชติยะปุตตะในประเทศไทยพบผู้ป่วยที่ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีค่อนข้างมาก จากสถิติ ๑๐๐ คน จะมีผู้เป็นพาหะโรคไวรัสตับอักเสบบีอยู่ ๕-๗ คน ซึ่งผู้ที่เป็นพาหะนั้น ไม่ได้เป็นโรค ไม่มีอาการเจ็บป่วย เพียงแต่มีเชื้ออยู่ในร่างกาย โดยผู้นั้นสามารถแพร่เชื้อให้ผู้อื่นได้ ...
  • ตาแห้ง

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 396 เมษายน 2555
    ถาม : รจนา/อุบลราชธานีดิฉันมีปัญหาตาแห้ง น้ำตาน้อย รู้สึกระคายเคืองตาบ้าง มีวิธีการรักษาหรือดูแลด้วยตนเองหรือไม่คะตอบ : พญ.สุมาลี หวังวีรวงศ์อาการตาแห้งมีหลายสาเหตุ แต่ที่พบบ่อยคือ มีการสร้างน้ำตาลดลงโดยเฉพาะในคนที่มีอายุมากขึ้น การกินยาบางอย่าง เช่น ยาแก้แพ้ ยาคลายเครียด การใส่คอนแท็กเลนส์ที่ไม่มีคุณภาพหรือไม่ถูกวิธี ภูมิแพ้ที่ตา หนังตาหรือเยื่อตาอักเสบเรื้อรัง ผู้ที่เคยทำเลสิก ...
  • ทาลัสซีเมีย

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 396 เมษายน 2555
    ถาม : ดวงทอง/สระบุรีผู้ป่วยโลหิตจางทาลัสซีเมีย และควรดูแลรักษาทำอย่างไรบ้างคะตอบ : พญ.กลีบสไบ สรรพกิจการรักษาโรคโลหิตจางทาลัสซีเมีย ส่วนใหญ่เป็นการรักษาแบบประคับประคองโดยการให้เลือด ซึ่งมี ๒ แบบ คือ แบบที่ ๑ เป็นการให้เลือดแบบประคับประคองเมื่อผู้ป่วยซีดมาก เพื่อเพิ่มระดับเฮโมโกลบินขึ้นให้สูงพอที่ผู้ป่วยจะหายจากอาการอ่อนเพลียหรือเหนื่อยจากการขาดออกซิเจน โดยให้ตามความจำเป็นแบบที่ ...
  • น้ำกัดเท้า

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 395 มีนาคม 2555
    ถาม : รัชพล/อ่างทอง ช่วงน้ำท่วมขังผมมีอาการเหมือนโรคน้ำกัดเท้า มีผื่นแดง และคันมาก แต่ไม่มั่นใจว่าเป็นโรคอะไรแน่ จึงอยากรู้ว่าโรคผิวหนังที่มากับน้ำมีลักษณะแตกต่างกันอย่างไรบ้างครับตอบ : พญ.สุเพ็ญญา วโรทัยน้ำท่วมขัง อาจก่อให้เกิดโรคผิวหนังได้หลายชนิด แต่ละชนิดมีลักษณะแตกต่างกันไปโรคผิวหนังชนิดแรกที่จะเกิดหลังการสัมผัสน้ำสกปรกอย่างต่อเนื่อง คือ โรคน้ำกัดเท้า ...
  • มะเร็งกับสมุนไพร

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 395 มีนาคม 2555
    ถาม : กัญญา/กรุงเทพฯ โรคมะเร็งสามารถรักษาด้วยวิธีการแพทย์แผนปัจจุบัน ควบคู่ไปกับการรักษาด้วยสมุนไพรได้หรือไม่คะตอบ : นพ.อดุลย์ รัตนวิจิตราศิลป์การรักษามะเร็งในแผนปัจจุบัน มีทั้งการผ่าตัด ฉายแสง และเคมีบำบัด ซึ่งยาเคมีบำบัดส่วนหนึ่งจะมีสารประกอบที่สำคัญจากสมุนไพร เช่น ยา vincristine หรือ vinblastine ซึ่งใช้ในการรักษาโรคมะเร็งหลายชนิด โดยเฉพาะมะเร็งต่อมน้ำเหลือง ...
  • สัตว์มีพิษกัด

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 395 มีนาคม 2555
    ถาม : บังอร/พระนครศรีอยุธยาในกรณีที่น้ำท่วมขัง มีวิธีการดูแลป้องกันและปฐมพยาบาลเบื้องต้นเมื่อถูกสัตว์มีพิษกัดอย่างไรบ้าง ตอบ : นพ.วินัย รัตนสุวรรณน้ำท่วมขัง อาจก่อให้เกิดโรคผิวหนังได้หลายชนิด แต่ละชนิดมีลักษณะแตกต่างกันไป โรคผิวหนังชนิดแรกที่จะเกิดหลังการสัมผัสน้ำสกปรกอย่างต่อเนื่อง คือ โรคน้ำกัดเท้า เนื่องจากสิ่งสกปรกและสารเคมีต่างๆ ที่ปะปนอยู่ในน้ำท่วมขัง ...
  • ป้องกันโรคฉี่หนู

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 395 มีนาคม 2555
    ถาม : สุมาลี/ปทุมธานี ช่วงน้ำท่วมนอกจากต้องระวังข้าวของเสียหายแล้ว ยังต้องระวังเชื้อโรคต่างๆ ที่มากับน้ำท่วมอีก เช่น โรคฉี่หนู ซึ่งครอบครัวของดิฉันต้องระวังเรื่องนี้กันมาก จึงอยากรู้จักโรคนี้ให้มากขึ้นค่ะตอบ : พญ.ยุพิน ศุพุทธมงคลภาวะน้ำท่วมขังอาจทำให้มีการแพร่ระบาดของ “โรคฉี่หนู” หรือ “โรคเล็ปโตสไปโรซิส” โดยเชื้อโรคจะปนเปื้อนมากับน้ำ ...
  • ผ่าตัดมะเร็งต่อมลูกหมาก

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 934 กุมภาพันธ์ 2555
    ถาม : โยธิน/สุรินทร์การผ่าตัดมะเร็งต่อมลูกหมากในปัจจุบัน มีความปลอดภัยมากน้อยแค่ไหน ผู้ชายอายุเท่าไหร่ถึงมีโอกาสเสี่ยงที่จะเป็นโรคนี้ตอบ : นพ.ไชยยงค์ นวลยงปัจจุบันพบว่าอุบัติการณ์ของมะเร็งต่อมลูกหมากมีมากขึ้น การเจาะเลือดเพื่อหาสารบ่งชี้มะเร็งต่อมลูกหมาก หรือที่เรียกว่า PSA นั้น สามารถช่วยให้ตรวจพบมะเร็งได้ในระยะเริ่มต้น ซึ่งยังมีโอกาสรักษาหายขาดได้ ...
  • ติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 394 กุมภาพันธ์ 2555
    ถาม : พงษ์ศักดิ์/ฉะเชิงเทราหากติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ ผู้ป่วยสามารถดูแลตนเองได้หรือไม่ตอบ : นพ.ปารยะ อาศนะเสนโรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจชนิดเฉียบพลัน มีอยู่หลายโรคด้วยกัน ตั้งแต่จมูกอักเสบ ไซนัสอักเสบ โรคคอหรือต่อมทอนซิลอักเสบ รวมถึงโรคหลอดลมอักเสบ ส่วนใหญ่เกิดจากเชื้อไวรัส ซึ่งผู้ป่วยมักจะหายได้เองภายใน ๗-๑๐ วัน โดยไม่ต้องกินยาต้านจุลชีพ ...
  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
  • 6
  • 7
  • 8
  • 9
  • …
  • ›
  • »
Skip to Top

คำถามสุขภาพ

  • ทั้งหมด
  • การแพทย์ทางเลือก
    • แพทย์แผนไทย
      • กดจุด
      • นวดไทย
    • แพทย์แผนจีน
  • ดูแลสุขภาพ
    • การดูแลผู้สูงอายุ
    • การปฐมพยาบาล
    • การรักษาเบื้องต้น
    • การใช้ยาสมุนไพร
    • คู่มือดูแลสุขภาพ
    • ยาและวิธีใช้
    • ตรวจสุขภาพด้วยตัวเอง
      • คำนวณค่า BMI
      • วินิจฉัยโรคเบื้องต้น
      • แนะนำการตรวจสุขภาพประจำปี
    • คุยสุขภาพ
      • กรณีศึกษา
      • ถามตอบปัญหาสุขภาพ
  • สุขภาพทางเพศและครอบครัว
    • การดูแลบุตร
    • แม่และเด็ก
    • การตั้งครรภ์
    • เรียนรู้เรื่องเพศและการวางแผนครอบครัว
  • สร้างเสริมสุขภาพ 3 อ. และป้องกันโรค
    • อาหาร
      • อาหาร 5 หมู่
      • อาหารของผู้่ป่วยโรคเรื้อรัง
        • ความดันสูง
        • หัวใจ
        • เกาต์
        • เบาหวาน
      • อาหารที่ควรหลีกเลี่ยง
      • อาหารป้องกันมะเร็ง
      • อาหารสมุนไพร
    • ออกกำลังกาย
      • วิ่ง เดิน ปั่นจักรยาน ว่ายน้ำ แอร์โรบิค แอร์โรบอคซิ่ง รำกระบอง ไทเก็ก ชี่กง โยคะ
    • อารมณ์
      • การทำสมาธิ
      • การพักผ่อน
      • การพัฒนา EQ
      • จิตอาสา/ ฉือจี้
  • พฤติกรรมอันตราย
    • พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ
    • อนามัยสิ่งแวดล้อม
    • อิริยาบถ
  • โรคและอาการ
    • โรคเรื้อรัง
      • กลุ่มอาการเมตาโบลิค
      • ความดันโลหิตสูง
      • ถุงลมปอดโป่งพอง
      • มะเร็ง
      • อัมพฤกษ์ อัมพาต
      • เบาหวาน
      • โรคข้อ/เกาต์
      • โรคทางจิตเวช เครียด หวาดระแวง
      • โรคหวัด ภูมิแพ้
      • โรคหัวใจ
      • โรคหืด
      • ไขมันในเลือดสูง/ผิดปกติ
      • ไตวาย
    • โรคตามระบบ
      • ระบบทางเดินอาหาร
      • โรคจากอุบัติเหตุ สารพิษ และสัตว์พิษ
      • โรคช่องปากและฟัน
      • โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
      • โรคติดเชื้อ
      • โรคผิวหนัง
      • โรคพยาธิ
      • โรคระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
      • โรคระบบต่อมไร้ท่อ
      • โรคระบบทางอวัยวะเพศชาย
      • โรคระบบทางอวัยวะเพศหญิง
      • โรคระบบทางเดินปัสสาวะ
      • โรคระบบทางเดินหายใจ
      • โรคระบบประสาทและสมอง
      • โรคระบบไหลเวียนโลหิต
      • โรคหู ตา คอ จมูก
    • โรคจากการทำงาน
      • พิษภัยจากสารเคมี (ยาฆ่าเมลง/ สารตะกั่ว)
      • โรคจากฝุ่นและสารเคมีในโรงงาน
      • โรคจากสัตว์ เช่น ฉี่หนู
      • โรคจากอริยาบทที่ผิดสุขลักษณะ
      • โรคเส้นเอ็นอักเสบ/ นิ้วล็อค
  • อื่น ๆ

  • สนับสนุนสื่อสุขภาพออนไลน์หมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • คำแนะนำสำหรับประชาชน เรื่อง โรคจากเชื้อแบคทีเรีย อีโคไลชนิดรุนแรง
  • ผ่าตัดฟรีสำหรับเด็ก ที่เป็นโรคหัวใจ
  • สมาคมคนพิการแห่งประเทศไทย (สพท.)

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa