Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » คำถามสุขภาพ » ดูแลสุขภาพ » คู่มือดูแลสุขภาพ

คู่มือดูแลสุขภาพ

  • คำถามเกี่ยวกับยาปฏิชีวนะ

    วารสารคลินิก 287 พฤศจิกายน 2551
    ถามการใช้ยา sulperazone จำเป็นต้องให้วิตามินเค ร่วมด้วยทุกครั้งหรือไม่ ตอบยา sulperazone เป็นยาปฏิชีวนะ ประกอบ  ด้วยยา 2 ชนิด คือ cefoperazone และ sulbactam อย่างละ 1 กรัม เนื่องจากโครงสร้างของ cefoperazone จะไปรบกวนการสร้างวิตามินเคของผู้ป่วย ส่งผลให้เกิด hypoprothrombinemia และอาจเพิ่มความเสี่ยงของเลือดออกมากกว่าปกติถึงแม้ว่าจะมีโอกาสไม่มากก็ตาม.ในกรณีที่พบว่าผู้ป่วยเกิดอาการ ...
  • ผ่าตัดซีสต์

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 198 ตุลาคม 2538
    ผ่าตัดซีสต์ดิฉันไปผ่าตัดซีสต์และวันที่ไปตัดไหมพบก้อนซีสต์ขึ้นอีก จำเป็นต้องผ่าตัดอีกครั้งหรือไม่ ถ้าทิ้งไว้จะเป็นอันตรายหรือไม่ผู้ถาม วิชชุดา/นครศรีธรรมราชผู้ตอบ นพ.กริช โพธิสุวรรณ ดิฉันเป็นไฟโบซีสต์ (fibrocyst) ที่เต้านม หมอผ่าเอาออกหมดแล้ว แผลกว้างประมาณ 6 เซนติเมตร แต่หลังจากผ่าตัดได้ 7วัน ไปตัดไหมพบว่ามีก้อนซีสต์เท่าเดิม กดเจ็บกว่าเดิมแต่ไม่เป็นไข้ ตอนนี้เจ็บน้อยลง ...
  • โรคภูมิแพ้ทางผิวหนัง

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 90 ตุลาคม 2529
    โรคภูมิแพ้ทางผิวหนังหลังจากที่คุณได้รู้จักกับ “โรคภูมิแพ้ทางเดินหายใจ” ในฉบับก่อนไปแล้วนั้น คงจะได้รับความรู้ ความเข้าใจ กระจ่างมากขึ้นกว่าเดิมนะคะและสำหรับคอลัมน์โรคน่ารู้ฉบับนี้ เราจะพูดถึง “โรคภูมิแพ้ทางผิวหนัง” ต่อเนื่องกันไปให้ครบถ้วนสุภาพสตรีคนหนึ่งลองซื้อเครื่องสำอางยี่ห้อใหม่มาใช้ ได้ฟังโฆษณากรอกหูอยู่ทุกวันว่า ใช้แล้วจะทำให้หน้าตาผิวพรรณผุดผ่อง มองดูอ่อนกว่าวัย ...
  • ยาขยัน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 56 ธันวาคม 2526
    ทุกอย่างย่อมมีทั้งด้านดีและด้านเสีย การทำความเข้าใจทั้งสองด้านย่อมทำให้สามารถแก้ไขและป้องกันเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ทันท่วงที ยาก็เช่นเดียวกัน หากเรารู้แต่ด้านดี โดยไม่รู้ด้านเสีย (ด้านอันตราย) ย่อมเกิดโทษมากกว่าคุณหากท่านผู้อ่านต้องการถามปัญหาเรื่องยาผ่านคอลัมน์นี้ โปรดวงเล็บมุมซอง “108 ปัญหายา” ...
  • ผมหรือขน ต่อมน้ำเหลือง

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 32 พฤศจิกายน 2524
    คุณทราบไหมว่า…ผมหรือขนของเรานั้น เริ่มเจริญเติบโตตั้งแต่เราอยู่ในท้องของแม่เมื่ออายุได้ 3 เดือน…มันเกิดขึ้นจากหนังกำพร้า* (หมายเลข 1) มีการแบ่งเซลล์เพิ่มจำนวนและแทรกยื่นลงไปในหนังกำแท้** (หมายเลข 2 และ 3 ) เซลล์ที่ยื่นลงไปจะเกาะกลุ่มกันยื่นลงไปเรื่อยๆ จนกลายเป็นปุ่ม (หมายเลข 4) และจะขยายเป็นหัวหรือตุ่มที่เราเรียกว่า รากขนหรือรากจน (หมายเลข 5) เซลล์ชั้นในๆ ...
  • กามโรค (ตอนที่ 2 )

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 23 มีนาคม 2524
    กามโรค (ตอนที่ 2 )แผลและเลือดบวก คุณผู้อ่านครับ ในฉบับที่แล้วคุณหมอนิวัติได้เล่าให้ฟังถึงเรื่องราวของหนองใน และหนองในเทียม ซึ่งได้รับความสนใจจากผู้อ่านอย่างมากมาย สำหรับในฉบับนี้ เราก็จะได้ฟังคุณหมอนิวัติเล่าเรื่องแผลและเลือดบวก ซึ่งมีแง่มุมต่างๆ ที่น่าคิด น่าสนใจมากมายทีเดียว หลายคนคงเคยได้ยินคำว่า เข้าข้อ, ออกดอก, เลือดบวก หรือ ว่า “ไอ้ฮวบ” จริง ๆ นั้นมันเป็นอย่างไร ...
  • หัดเยอรมัน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 16 สิงหาคม 2523
    หัดเยอรมัน  ในบรรดาโรคภัยไข้เจ็บทั้งหลาย โรคที่ทำให้ผู้ใกล้ชิดหรือผู้สัมผัสโรคมีอาการ “ประสาทผวา” ได้มากที่สุด ก็เห็นจะได้แก่ โรคพิษสุนัขบ้า กับโรคหัดเยอรมันในโรคพิษสุนัขบ้า ถ้าผู้สัมผัสโรคได้รับเชื้อ เกิดป่วยมีอาการขึ้นมา ก็หมายถึงชีวิตกำลังจะสิ้นสุดลงอย่างน่าอนาถใจ โดยหาหมอเทวดาที่ไหนมาช่วยก็ไม่ได้ส่วนโรคหัดเยอรมัน ...
Skip to Top

คำถามสุขภาพ

  • ทั้งหมด
  • การแพทย์ทางเลือก
    • แพทย์แผนไทย
      • กดจุด
      • นวดไทย
    • แพทย์แผนจีน
  • ดูแลสุขภาพ
    • การดูแลผู้สูงอายุ
    • การปฐมพยาบาล
    • การรักษาเบื้องต้น
    • การใช้ยาสมุนไพร
    • คู่มือดูแลสุขภาพ
    • ยาและวิธีใช้
    • ตรวจสุขภาพด้วยตัวเอง
      • คำนวณค่า BMI
      • วินิจฉัยโรคเบื้องต้น
      • แนะนำการตรวจสุขภาพประจำปี
    • คุยสุขภาพ
      • กรณีศึกษา
      • ถามตอบปัญหาสุขภาพ
  • สุขภาพทางเพศและครอบครัว
    • การดูแลบุตร
    • แม่และเด็ก
    • การตั้งครรภ์
    • เรียนรู้เรื่องเพศและการวางแผนครอบครัว
  • สร้างเสริมสุขภาพ 3 อ. และป้องกันโรค
    • อาหาร
      • อาหาร 5 หมู่
      • อาหารของผู้่ป่วยโรคเรื้อรัง
        • ความดันสูง
        • หัวใจ
        • เกาต์
        • เบาหวาน
      • อาหารที่ควรหลีกเลี่ยง
      • อาหารป้องกันมะเร็ง
      • อาหารสมุนไพร
    • ออกกำลังกาย
      • วิ่ง เดิน ปั่นจักรยาน ว่ายน้ำ แอร์โรบิค แอร์โรบอคซิ่ง รำกระบอง ไทเก็ก ชี่กง โยคะ
    • อารมณ์
      • การทำสมาธิ
      • การพักผ่อน
      • การพัฒนา EQ
      • จิตอาสา/ ฉือจี้
  • พฤติกรรมอันตราย
    • พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ
    • อนามัยสิ่งแวดล้อม
    • อิริยาบถ
  • โรคและอาการ
    • โรคเรื้อรัง
      • กลุ่มอาการเมตาโบลิค
      • ความดันโลหิตสูง
      • ถุงลมปอดโป่งพอง
      • มะเร็ง
      • อัมพฤกษ์ อัมพาต
      • เบาหวาน
      • โรคข้อ/เกาต์
      • โรคทางจิตเวช เครียด หวาดระแวง
      • โรคหวัด ภูมิแพ้
      • โรคหัวใจ
      • โรคหืด
      • ไขมันในเลือดสูง/ผิดปกติ
      • ไตวาย
    • โรคตามระบบ
      • ระบบทางเดินอาหาร
      • โรคจากอุบัติเหตุ สารพิษ และสัตว์พิษ
      • โรคช่องปากและฟัน
      • โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
      • โรคติดเชื้อ
      • โรคผิวหนัง
      • โรคพยาธิ
      • โรคระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
      • โรคระบบต่อมไร้ท่อ
      • โรคระบบทางอวัยวะเพศชาย
      • โรคระบบทางอวัยวะเพศหญิง
      • โรคระบบทางเดินปัสสาวะ
      • โรคระบบทางเดินหายใจ
      • โรคระบบประสาทและสมอง
      • โรคระบบไหลเวียนโลหิต
      • โรคหู ตา คอ จมูก
    • โรคจากการทำงาน
      • พิษภัยจากสารเคมี (ยาฆ่าเมลง/ สารตะกั่ว)
      • โรคจากฝุ่นและสารเคมีในโรงงาน
      • โรคจากสัตว์ เช่น ฉี่หนู
      • โรคจากอริยาบทที่ผิดสุขลักษณะ
      • โรคเส้นเอ็นอักเสบ/ นิ้วล็อค
  • อื่น ๆ

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa