Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » คำถามสุขภาพ » สร้างเสริมสุขภาพ 3 อ.​ และป้องกันโรค

สร้างเสริมสุขภาพ 3 อ.​ และป้องกันโรค

  • พร่องเอนไซม์ จี 6-พีดี

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 367 พฤศจิกายน 2552
    ถาม : เมธี/กรุงเทพฯ ลูกชายอายุ 22 ปีแล้วป่วยเป็นโรคจี 6-พีดี จะต้องให้ลูกเสริมอาหารและวิตามินอย่างไรบ้าง ตอบ : ดร.วันทนีย์ เกรียงสินยศภาวะพร่องเอนไซม์ จี6-พีดี (G6-PD : Glucose-6-Phosphate Dehydrogenase) หรือรู้จักกันในชื่อ โรคแพ้ถั่วปากอ้า (favism) นอกจากนี้ยังต้องหลีกเลี่ยงการกินยาบางกลุ่มด้วย เช่น ยากลุ่มแอสไพริน ยาต้านมาลาเรีย ยากลุ่มซัลฟา เป็นต้น ดังนั้น จึงไม่ควรซื้อยากินเอง ...
  • ผู้สูงอายุยืดกล้ามเนื้อ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 360 เมษายน 2552
    ถาม : นุสบา/กรุงเทพฯผู้สูงอายุที่ไม่ค่อยได้ทำงานบ้าน วันๆ ได้แต่นั่งๆ นอนๆ จะให้บริหารร่างกายแบบไหนดีเพื่อความยืดหยุ่นของร่างกายตอบ : อาจารย์สายสมร เดชคงปกติแล้วผู้สูงอายุที่ไม่ค่อยได้ทำงานบ้าน ยิ่งถ้านั่งๆ นอนๆ ดูโทรทัศน์ อาจเกิดอาการปวดเมื่อยหลัง และถ้าเดินน้อยด้วยจำเป็นจะต้องบริหารร่างกายเพื่อช่วยให้กล้ามเนื้อยืดหยุ่น ไม่ยึดตึง ...
  • อยากทราบเกี่ยวกับอาหารบำรุงสายตา

    วารสารคลินิก 290 กุมภาพันธ์ 2552
    Q  :  ...
  • ความดันเลือดสูง

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 357 มกราคม 2552
    ถาม : มนัส/จันทบุรีเดือนพฤษภาคมผมเคยวัดความดันเลือดด้วยเครื่องวัดระบบดิจิตอล ได้ค่าความดันเลือดตัวบน 160 และค่าความดันเลือดตัวล่าง 100 หมอให้ยาเม็ดสีชมพูมากินครั้งละครึ่งเม็ด และแนะนำให้ลดการกินอาหารเค็มอีก 1 เดือนต่อมาไปวัดความดันเลือดอีก ผลก็คือ 148/90 ครั้งนี้หมอให้ยาเพิ่มอีกเม็ดสีขาว ให้กินครั้งละ 1 เม็ด (รวมกินยาสีชมพูและสีขาวคือครั้งละ 1 เม็ดครึ่ง)ต่อจากนั้นไปวัดความดันเลือดทุกเดือน ...
  • ป้องกันกระดูกพรุน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 356 ธันวาคม 2551
    ถาม : วีระ/สงขลาขอเรียนถามว่าคนเราสามารถป้องกันไม่ให้กระดูกพรุนได้อย่างไรตอบ : นพ.บุญส่ง องค์พิพัฒนกุลกระดูกเป็นส่วนประกอบของร่างกายที่มีความสำคัญต่อการทำงานมาก ทำหน้าที่เป็นโครงร่างของร่างกาย ช่วยให้ร่างกายสามารถคงสภาพรูปร่างตามปกติได้ และมีความสำคัญต่ออิริยาบถต่างๆ เช่น การยืน เดิน วิ่ง นั่ง ซึ่งหากปราศจากกระดูกหรือกระดูกไม่มีความแข็งแรงพอ ร่างกายก็ไม่สามารถทำหน้าที่เหล่านี้ได้นอกจากนี้ ...
  • กินเร็ว กินอิ่ม ทำให้อ้วนได้ไหม

    วารสารคลินิก 288 ธันวาคม 2551
    Disclaimer : รายงานการศึกษาวิจัยทางการแพทย์มีมากมายมหาศาล ในขณะนี้เป็นสิ่งที่ต้องติดตามเป็นอย่างยิ่ง คอลัมน์นี้ได้สรุปรายงานการศึกษาที่น่าสนใจที่ลงในวารสารทางการแพทย์ที่ผ่าน peer review มาให้สมาชิกทราบ แต่ข้อพึงระวังคือ ไม่ใช่ว่าทุกอย่างที่มีการรายงานการศึกษาจะมีความถูกต้องเป็น สัจจะ เพราะไม่มีอะไรถูกต้องร้อยเปอร์เซ็นต์ ในทางการแพทย์ ความรู้ ความเชื่อ ณ วันนี้อาจได้การยอมรับ แต่ความรู้ใหม่ๆ ...
  • Phototherapy ในทารกเท่าแรกเกิด น้ำหนักน้อย เริ่มเมื่อบิลิรูบินเท่าใดดี

    วารสารคลินิก 288 ธันวาคม 2551
    Phototherapy ในทารกเท่าแรกเกิด น้ำหนักน้อย เริ่มเมื่อบิลิรูบินเท่าใดดี Morris BH, et al. Aggressive vs. Conservative Phototherapy for Infants with Extremely Low Birth Weight. N Engl J Med 2008; 359:1885-96.ที่ ผ่านมายังมีข้อโต้แย้งกันว่าในทารกคลอดก่อนกำหนด ระดับบิลิรูบินเท่าใดที่เป็นอันตรายต่อการความพิการทางสมอง. บางรายงานกล่าวว่า 5 มก./ดล. หรือน้อยกว่านั้นถือว่าสูงแล้ว ...
  • ยืดเส้นยืดสาย

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 355 พฤศจิกายน 2551
    ถาม : อนุพงษ์/กรุงเทพฯกิจวัตรประจำวันส่วนใหญ่ทำงานนั่งโต๊ะ ไม่ค่อยได้ยืดเส้นยืดสายขอถามว่า ใครบ้างที่จะต้องยืดเส้นยืดสาย ประโยชน์ที่ได้มีอะไรบ้าง และการยืดเส้นยืดสายขั้นต้นจะต้องทำอย่างไรตอบ : อาจารย์สายสมร เดชคงคนที่อยู่ในสังคมเมืองนั้นวิถีชีวิตส่วนใหญ่ไม่ค่อยได้ยืดเส้นยืดสายการยืดเส้นยืดสายเป็นสิ่งจำเป็นของคนทุกเพศ ทุกวัย สิ่งสำคัญคือทำตามความเหมาะสมกับตนเอง อย่าทำเกินขีดความสามารถ ...
  • ออกกำลังหัวใจ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 354 ตุลาคม 2551
    ถาม : จันทร์/กรุงเทพฯที่ทำงานของดิฉันส่งเสริมสุขภาพด้วยการสนับสนุนการออกกำลังกายแบบแอโรบิกนอกจากออกกำลังร่างกายแล้ว จะออกกำลังหัวใจได้อย่างไรตอบ : นพ.สุธี ศิริเวชฎารักษ์การออกกำลังกายทุกชนิดมีประโยชน์ต่อร่างกาย ไม่ว่าส่วนใดส่วนหนึ่งการส่งเสริมการออกกำลังกายก็เป็นเรื่องดี แต่ไม่ใช่การเต้นแอโรบิกเพียงอย่างเดียวการออกกำลังกายแบบแอโรบิกคือการออกกำลังกายของกล้ามเนื้อมัดใหญ่ๆ ของร่างกายหลายๆ ...
  • กินฮอร์โมนเสี่ยงต่อโรคถุงน้ำดีหรือไม่

    วารสารคลินิก 285 กันยายน 2551
    Disclaimer : รายงานการศึกษาวิจัยทางการแพทย์มีมากมายมหาศาล ในขณะนี้เป็นสิ่งที่ต้องติดตามเป็นอย่างยิ่ง คอลัมน์นี้ได้สรุปรายงานการศึกษาที่น่าสนใจที่ลงในวารสารทางการแพทย์ที่ผ่าน peer review มาให้สมาชิกทราบ แต่ข้อพึงระวังคือ ไม่ใช่ว่าทุกอย่างที่มีการรายงานการศึกษาจะมีความถูกต้องเป็น สัจจะ เพราะไม่มีอะไรถูกต้องร้อยเปอร์เซ็นต์ ในทางการแพทย์ ความรู้ ความเชื่อ ณ วันนี้อาจได้การยอมรับ แต่ความรู้ใหม่ๆ ...
  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
  • 6
  • 7
  • 8
  • 9
  • ›
  • »
Skip to Top

คำถามสุขภาพ

  • ทั้งหมด
  • การแพทย์ทางเลือก
    • แพทย์แผนไทย
      • กดจุด
      • นวดไทย
    • แพทย์แผนจีน
  • ดูแลสุขภาพ
    • การดูแลผู้สูงอายุ
    • การปฐมพยาบาล
    • การรักษาเบื้องต้น
    • การใช้ยาสมุนไพร
    • คู่มือดูแลสุขภาพ
    • ยาและวิธีใช้
    • ตรวจสุขภาพด้วยตัวเอง
      • คำนวณค่า BMI
      • วินิจฉัยโรคเบื้องต้น
      • แนะนำการตรวจสุขภาพประจำปี
    • คุยสุขภาพ
      • กรณีศึกษา
      • ถามตอบปัญหาสุขภาพ
  • สุขภาพทางเพศและครอบครัว
    • การดูแลบุตร
    • แม่และเด็ก
    • การตั้งครรภ์
    • เรียนรู้เรื่องเพศและการวางแผนครอบครัว
  • สร้างเสริมสุขภาพ 3 อ. และป้องกันโรค
    • อาหาร
      • อาหาร 5 หมู่
      • อาหารของผู้่ป่วยโรคเรื้อรัง
        • ความดันสูง
        • หัวใจ
        • เกาต์
        • เบาหวาน
      • อาหารที่ควรหลีกเลี่ยง
      • อาหารป้องกันมะเร็ง
      • อาหารสมุนไพร
    • ออกกำลังกาย
      • วิ่ง เดิน ปั่นจักรยาน ว่ายน้ำ แอร์โรบิค แอร์โรบอคซิ่ง รำกระบอง ไทเก็ก ชี่กง โยคะ
    • อารมณ์
      • การทำสมาธิ
      • การพักผ่อน
      • การพัฒนา EQ
      • จิตอาสา/ ฉือจี้
  • พฤติกรรมอันตราย
    • พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ
    • อนามัยสิ่งแวดล้อม
    • อิริยาบถ
  • โรคและอาการ
    • โรคเรื้อรัง
      • กลุ่มอาการเมตาโบลิค
      • ความดันโลหิตสูง
      • ถุงลมปอดโป่งพอง
      • มะเร็ง
      • อัมพฤกษ์ อัมพาต
      • เบาหวาน
      • โรคข้อ/เกาต์
      • โรคทางจิตเวช เครียด หวาดระแวง
      • โรคหวัด ภูมิแพ้
      • โรคหัวใจ
      • โรคหืด
      • ไขมันในเลือดสูง/ผิดปกติ
      • ไตวาย
    • โรคตามระบบ
      • ระบบทางเดินอาหาร
      • โรคจากอุบัติเหตุ สารพิษ และสัตว์พิษ
      • โรคช่องปากและฟัน
      • โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
      • โรคติดเชื้อ
      • โรคผิวหนัง
      • โรคพยาธิ
      • โรคระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
      • โรคระบบต่อมไร้ท่อ
      • โรคระบบทางอวัยวะเพศชาย
      • โรคระบบทางอวัยวะเพศหญิง
      • โรคระบบทางเดินปัสสาวะ
      • โรคระบบทางเดินหายใจ
      • โรคระบบประสาทและสมอง
      • โรคระบบไหลเวียนโลหิต
      • โรคหู ตา คอ จมูก
    • โรคจากการทำงาน
      • พิษภัยจากสารเคมี (ยาฆ่าเมลง/ สารตะกั่ว)
      • โรคจากฝุ่นและสารเคมีในโรงงาน
      • โรคจากสัตว์ เช่น ฉี่หนู
      • โรคจากอริยาบทที่ผิดสุขลักษณะ
      • โรคเส้นเอ็นอักเสบ/ นิ้วล็อค
  • อื่น ๆ

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa